See also ebooksgratis.com: no banners, no cookies, totally FREE.

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนคนพูด - วิกิพีเดีย

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนคนพูด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

บทความนี้มีเนื้อหาหรือข้อมูลที่ล้าสมัย ไม่เป็นปัจจุบัน
คุณสามารถแก้ไขเพิ่มเติมบทความนี้เพื่อให้เป็นปัจจุบันได้


รายชื่อของภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม่ (Native Speaker) ทั่วโลก

เนื้อหา

[แก้] ภาษาที่มีการใช้เป็นภาษาแรก ประมาณ 100 ล้านคนขึ้นไป

ภาษา ตระกูล สถานะอย่างทางการ จำนวนผู้พูด
(ข้อมูลปี 2548 โดย Ethnologue [1])
จำนวนผู้พูดจากแหล่งอื่น
จีนกลาง
(汉语 官话)
ซิโน-ทิเบตัน เป็นภาษาราชการในจีน (ภาษาจีนกลาง; มี ภาษากวางตุ้ง เป็นภาษาราชการร่วมโดยพฤตินัยในเขตเศรษฐกิจพิเศษฮ่องกงและมาเก๊า) ไต้หวัน (ภาษาจีนกลาง) และสิงคโปร์ (ภาษาจีนกลาง)

ชุมชนสำคัญในออสเตรเลีย (รวมเกาะคริสต์มาส) บรูไน พม่า กัมพูชา แคนาดา ฝรั่งเศส (เฟรนช์โปลินีเซียและเรอูนียง) กวม (สหรัฐอเมริกา) อินโดนีเซีย จาเมกา มาเลเซีย มอริเชียส มองโกเลีย นาอูรู นิวซีแลนด์ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (สหรัฐอเมริกา) ฟิลิปปินส์ ซูรินาเม ไทย สหรัฐอเมริกา เวเนซุเอลา และเวียดนาม
873 ล้านคน 873 ล้านคนพูดเป็นภาษาหลัก และ 178 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 1,051 ล้านคน
สเปน
(Español)
อินโด-ยูโรเปียน
อิตาลิก
โรมานซ์
ไอบีเรียน
เป็นภาษาราชการในอาร์เจนตินา โบลิเวีย ชิลี โคลอมเบีย คอสตาริกา คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ อิเควทอเรียลกินี กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เม็กซิโก นิการากัว ปานามา ปารากวัย เปรู สเปน สหรัฐอเมริกา (รัฐนิวเม็กซิโก รัฐฟลอริดาและเครือรัฐเปอร์โตริโก) อุรุกวัย และเวเนซุเอลา

ชุมชนสำคัญในอันดอร์รา อารูบา (เนเธอร์แลนด์) เบลีซ หมู่เกาะเคย์แมน (สหราชอาณาจักร) ยิบรอลตาร์ (สหราชอาณาจักร) อิสราเอล เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส (เนเธอร์แลนด์) สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา
322 ล้านคน ผู้พูดอยู่ระหว่าง 322 ถึง 358 ล้านคน
400 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก 100 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 500 ล้านคน
อังกฤษ
(English)
อินโด-ยูโรเปียน
เจอร์มานิก
ตะวันตก
แองกลิก
เป็นภาษาราชการในแอนติกาและบาร์บูดา ออสเตรเลีย (รวมดินแดนในปกครองภายนอก) บาฮามาส บังกลาเทศ บาร์เบโดส เบลีซ บอตสวานา บรูไนดารุสซาลาม แคเมอรูน แคนาดา โดมินิกา เอธิโอเปีย เอริเทรีย ฟิจิ แกมเบีย กานา เกรเนดา กายอานา ฮ่องกง (จีน) อินเดีย ไอร์แลนด์ จาเมกา เคนยา คิริบาส เลโซโท ไลบีเรีย มาลาวี มัลดีฟส์ มอลตา หมู่เกาะมาร์แชลล์ มอริเชียส ไมโครนีเซีย นามิเบีย นาอูรู นิวซีแลนด์ (และดินแดนในปกครอง) ไนจีเรีย ปากีสถาน ปาเลา ปาปัวนิวกินี ฟิลิปปินส์ รวันดา เซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซามัว เซเชลส์ เซียร์ราลีโอน สิงคโปร์ หมู่เกาะโซโลมอน โซมาเลีย แอฟริกาใต้ สวาซิแลนด์ แทนซาเนีย ตองกา ตรินิแดดและโตเบโก ตูวาลู ยูกันดา สหราชอาณาจักร (รวมดินแดนและอาณานิคมในปกครอง) สหรัฐอเมริกา (ภาษาประจำชาติ; เป็นภาษาราชการในบางรัฐและดินแดนในปกครอง) วานูอาตู แซมเบีย และซิมบับเว

ชุมชนสำคัญในอันดอร์รา อารูบา (เนเธอร์แลนด์) บังกลาเทศ บรูไนดารุสซาลาม อิสราเอล ฝรั่งเศส (แซงปีแยร์และมีเกอลง) มาเลเซีย มัลดีฟส์ โซมาเลีย ศรีลังกา และสวิตเซอร์แลนด์
309 ล้านคน 380 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก 720 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง และรวมทั้งหมด 1,100 ล้านคน
อาหรับ
(العربية)
แอโฟร-เอเชียติก
เซมิติก
กลาง, กลางตอนใต้
ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ เป็นภาษาราชการในแอลจีเรีย บาห์เรน ชาด คอโมโรส จิบูตี อียิปต์ (พร้อมกับ ภาษาอาหรับแบบอียิปต์ ในฐานะภาษาประจำชาติ) เอริเทรีย อิรัก อิสราเอล จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย โมร็อกโก ไนเจอร์ โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนิเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เวสเทิร์นสะฮารา และเยเมน
ภาษาอาหรับแบบฮัสซานียะ เป็นภาษาราชการในมอริเตเนียและเซเนกัล และเป็นภาษาประจำชาติในมาลี

ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย เบลเยียม สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ฝรั่งเศส ยิบรอลตาร์ (สหราชอาณาจักร) อิหร่าน และสเปน (เซวตาและเมลียา)
206 ล้านคน 206 ล้านคน และ 24 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทุกแบบของภาษาอาหรับจะมี 230 ล้านคน (255 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2548)
อาหรับแบบอียิปต์: 46 ล้านคน
ฮัสซานียะ: 2.8 ล้านคน
อาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ มีผู้ใช้เป็นภาษาที่สองเท่านั้น
ฮินดี
(हिन्दी)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (ภาษาขรีโพลี เป็นภาษาประจำชาติและในหลายรัฐ; ภาษาไมถิลี ในรัฐพิหาร) และฟิจิ (ภาษาอวัธ)

ชุมชนสำคัญในเบลีซ เกรเนดา กายอานา มอริเชียส เนปาล แอฟริกาใต้ ซูรินาเม ตรินิแดดและโตเบโก และเยเมน
181 ล้านคน ทั้งหมด 948 ล้านคน ถ้ารวมคนที่พอมีความรู้
โปรตุเกส
(Português)
อินโด-ยูโรเปียน
อิตาลิก
โรมานซ์
ไอบีเรียน
เป็นภาษาราชการในแองโกลา บราซิล เคปเวิร์ด ติมอร์ตะวันออก กินี-บิสเซา มาเก๊า (จีน) โมซัมบิก โปรตุเกส และเซาตูเมและปรินซิปี

ชุมชนสำคัญในอันดอร์รา แอนติกา ฝรั่งเศส อินเดีย (ดามันและรัฐกัว) ลักเซมเบิร์ก นามิเบีย ปารากวัย แอฟริกาใต้ สเปน สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา (รัฐคอนเนตทิคัต รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ และรัฐโรดไอแลนด์) และเวเนซุเอลา
177.5 ล้านคา 203 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก และมากกว่า 20 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 223 ล้านคน
เบงกาลี
(বাংলা)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
มากาดัน
อัสสัม-เบงกาลี
เป็นภาษาราชการในบังกลาเทศและอินเดีย (รัฐตริปุระและรัฐเบงกอลตะวันตก)

ชุมชนสำคัญในพม่า โอมาน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
171 ล้านคน 196 ล้านคน (นับรวมผู้พูดภาษาจิตตะกอง 14 ล้านคน และผู้พูดภาษาซิลเหต 10.3 ล้านคน)
รัสเซีย
(Русский язык)
อินโด-ยูโรเปียน
สลาวิก
ตะวันออก
เป็นภาษาราชการในอับคาเซีย (ส่วนหนึ่งของจอร์เจียโดยนิตินัย) เบลารุส คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน รัสเซีย และทรานสนิสเตรีย (ส่วนหนึ่งของมอลโดวาโดยนิตินัย)

ชุมชนสำคัญในอาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน เอสโตเนีย จอร์เจีย อิสราเอล ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลโดวา ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสถาน ยูเครน สหรัฐอเมริกา (รัฐนิวยอร์ก) และอุซเบกิสถาน
145 ล้านคน 145 ล้านคนพูดเป็นภาษาหลัก และ 110 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 255 ล้านคน
ญี่ปุ่น
(日本語)
จาโปนิก เป็นภาษาราชการในญี่ปุ่นและปาเลา (เกาะอังเอาร์)

ชุมชนสำคัญในกวม (สหรัฐอเมริกา) และสหรัฐอเมริกา (รัฐฮาวาย)
122 ล้านคน 128 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก 2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 130 ล้านคน
เยอรมัน
(Deutsch)
อินโด-ยูโรเปียน
เจอร์มานิก
ตะวันตก
ไฮเจอร์มานิก
เป็นภาษาราชการในออสเตรีย เบลเยียม เยอรมนี อิตาลี (แคว้นปกครองตนเองเซาท์ทิโรล) ลิกเตนสไตน์ ลักเซมเบิร์ก และสวิตเซอร์แลนด์

ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย เบลีซ โบลิเวีย บราซิล แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก (เทศมณฑลเซาท์จัตแลนด์) ฝรั่งเศส ฮังการี อิสราเอล คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน นามิเบีย เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ โปแลนด์ ปารากวัย สหรัฐอเมริกา (รัฐนอร์ทดาโคตา รัฐเซาท์ดาโคตา และรัฐวิสคอนซิน)
95.4 ล้านคน 101 ล้านคน (แบ่งเป็นผู้พูดภาษาเยอรมันมาตรฐาน 95 ล้านคน และผู้พูดภาษาเยอรมันแบบสวิส 6 ล้านคน) 70 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมได้ประมาณ 170 ล้านคน

[แก้] ภาษาที่มีการใช้เป็นภาษาแรก 50 - 100 ล้านคน

ภาษา ตระกูล สถานะอย่างทางการ จำนวนผู้พูด
(ข้อมูลปี 2548 โดย Ethnologue [2])
จำนวนผู้พูดจากแหล่งอื่น
ชวา
(Basa Jawa)
ออสโตรนีเชียน
มาลาโย-โปลินีเชียน
ซุนดา-ซูลาเวซี
ใช้ในอินโดนีเซีย (โดยเฉพาะเกาะชวา)

ชุมชนสำคัญในมาเลเซีย นิวแคลิโดเนีย (ฝรั่งเศส) และซูรินาเม
75.5 ล้านคน 70 - 75 ล้านคน
จีนอู๋
(汉语, 吴方言)
ซิโน-ทิเบตัน
จีน
นครเซี่ยงไฮ้ พื้นที่ส่วนมากของมณฑลเจ้อเจียง ตอนใต้ของมณฑลเจียงซู ประเทศจีน ฯลฯ 77.2 ล้านคน 77 ล้านคน
เตลูกู (เตะลุคุ)
(తెలుగు)
ดราวิเดียน
กลางตอนใต้
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐอานธรประเทศและเขตยานัม)

ชุมชนสำคัญในบาห์เรน ฟิจิ และมอริเชียส
69.7 ล้านคน
มราฐี
(मराठी)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
เขตกลาง
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (ดามันและดีอู รัฐกัว และรัฐมหาราษฏระ)

ชุมชนสำคัญในมอริเชียส
68 ล้านคน 68 ล้านคนใช้เป็นภาษาแรก และ 3 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 71 ล้านคน
เวียดนาม
(Tiếng Việt)
ออสโตร-เอเชียติก
มอญ-เขมร
วิเอติก
เป็นภาษาราชการในเวียดนาม ภาษาพื้นเมืองในเวียดนามและจีน

ชุมชนสำคัญในออสเตรเลีย กัมพูชา ลาว นิวแคลิโดเนีย (ฝรั่งเศส) นอร์เวย์ สหรัฐอเมริกา (รัฐแคลิฟอร์เนีย) และวานูอาตู
67.4 ล้านคน 70 ล้านคนใช้เป็นภาษาแรก และ 16 ล้านคนอาจจะใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 86 ล้านคน
เกาหลี
(한국어)
ภาษาโดดเดี่ยว เป็นภาษาราชการในเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ภาษาพื้นเมืองในจีน (จังหวัดปกครองตนเองเกาหลีหยันเปียน)

ชุมชนสำคัญในออสเตรเลีย กวม (สหรัฐอเมริกา) ญี่ปุ่น หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (สหรัฐอเมริกา) และสหรัฐอเมริกา (รัฐฮาวาย)
67 ล้านคน 71 ล้านคน
ทมิฬ
(தமிழ்)
ดราวิเดียน
ใต้
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐทมิฬนาฑู เขตคาไรคาล และพอนดิเชอร์รี) สิงคโปร์ และศรีลังกา

ชุมชนสำคัญในบาห์เรน ฟิจิ มาเลเซีย มอริเชียส และฝรั่งเศส (เรอูนียง)
66 ล้านคน 62 ล้านคนใช้เป็นภาษาแรก และอีก 10 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 72 ล้านคน
ฝรั่งเศส
(Français)
อินโด-ยูโรเปียน
อิตาลิก
โรมานซ์
กอลโล-ไอบีเรียน
กอลโล-โรมานซ์
โออีล
เป็นภาษาราชการหรือภาษาประจำชาติในเบลเยียม เบนิน บูร์กินาฟาโซ บุรุนดี แคเมอรูน แคนาดา สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชาด คอโมโรส คองโก-บราซซาวิล คองโก-กินชาซา โกตดิวัวร์ จิบูตี ฝรั่งเศส (รวมเฟรนช์เกียนา กวาเดอลูป เรอูนียง และแซงปีแยร์และมีเกอลง) เฟรนช์โปลินีเซีย (ฝรั่งเศส) กาบอง
เกิร์นซีย์ (สหราชอาณาจักร) กินี เฮติ อินเดีย (เขตคาไรคาลและพอนดิเชอร์รี) อิตาลี เจอร์ซีย์ (สหราชอาณาจักร) เลบานอน ลักเซมเบิร์ก มาดากัสการ์ มาลี มาร์ตินีก (ฝรั่งเศส) มอริเชียส มายอต (ฝรั่งเศส) โมนาโก นิวแคลิโดเนีย (ฝรั่งเศส) ไนเจอร์ รวันดา เซเนกัล เซเชลส์ สวิตเซอร์แลนด์ โตโก แคนาดา (มลรัฐควิเบก) สหรัฐอเมริกา (รัฐลุยเซียนา) และวานูอาตู

ชุมชนสำคัญในนิวซีแลนด์และสหรัฐอเมริกา (รัฐเมน รัฐนิวแฮมป์เชียร์ และรัฐเวอร์มอนต์)
64.8 ล้านคน 115 ล้านคนเป็นผู้พูดภาษาอย่างแท้จริง (รวมกลุ่มผู้ที่ใช้เป็นภาษาที่สองบางกลุ่ม) 250 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 365 ล้านคน และอาจมากถึง 500 ล้านคนถ้ารวมผู้ที่พอมีความรู้
อิตาลี
(Italiano)
อินโด-ยูโรเปียน
อิตาลิก
โรมานซ์
อิตาโล-ดัลเมเชียน
เป็นภาษาราชการในโครเอเชีย
(เทศมณฑลอิสเตรีย) อิตาลี ซานมารีโน สโลวีเนีย และสวิตเซอร์แลนด์

ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย เบลเยียม แคนาดา ฝรั่งเศส กรีซ ลิกเตนสไตน์ ลักเซมเบิร์ก โมนาโก สหรัฐอเมริกา (รัฐคอนเนตทิคัต รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐนิวยอร์ก และรัฐโรดไอแลนด์) อุรุกวัย และนครรัฐวาติกัน
61.5 ล้านคน 61 ล้านคนใช้เป็นภาษาแรก
ปัญจาบ
(ਪੰਜਾਬੀ, پنجابی)
อินโด-ยูโรเปีย
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐปัญจาบ) ภาษาประจำชาติในปากีสถาน (จังหวัดปัญจาบ)

ชุมชนสำคัญในแคนาดา ฟิจิ มอริเชียส และสหราชอาณาจักร
ปัญจาบตะวันตก 60.8 ล้านคน และ ปัญจาบตะวันออก 28 ล้านคน ตะวันตก: 61-62 ล้านคน ตะวันออก: 28 ล้านคน ใต้: 14 ล้านคน รวมทั้งหมด 104 ล้านคน
อูรดู
(اُردو)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
ฮินดูสตานี
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐชัมมูและแคชเมียร์) และปากีสถาน

ชุมชนสำคัญในบาห์เรน บอตสวานา ฟิจิ มาลาวี มอริเชียส โอมาน กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย และแอฟริกาใต้
60.5 ล้านคน 61 ล้านคนใช้เป็นภาษาแรก และ 43 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 104 ล้านคน
จีนกวางตุ้ง
(汉语, 粵語, 廣東語)
ซิโน-ทิเบตัน
จีน
ภาษาราชการในฮ่องกง และมาเก๊า ภาษาถื่นในจีนแผ่นดินใหญ่ ตอนกลางของมณฑลกวางตุ้ง ทางตะวันอออกและใต้ของมณฑลกวางสี บางส่วนของมณฑลไหหลำ 54.8 ล้านคน 66 ล้านคนใช้เป็นภาษาหลัก อาจจะมีผู้พูดสูงสุดถึง 100 ล้านคน
ตุรกี
(Türkçe)
อัลตาอิก
เตอร์กิก
ตะวันตกเฉียงใต้
โอกุซ
เป็นภาษาราชการในบัลแกเรีย ไซปรัส
สาธารณรัฐตุรกีนอร์เทิร์นไซปรัส
(ส่วนหนึ่งของไซปรัสโดยนิตินัย) และตุรกี

ชุมชนสำคัญในออสเตรเลีย ออสเตรีย จอร์เจีย เยอรมนี กรีซ อิหร่าน มาซิโดเนีย มอลโดวา และเนเธอร์แลนด์
50.6 ล้านคน 60 ล้านคน และ 15 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 75 ล้านคน

[แก้] ภาษาที่มีการใช้เป็นภาษาแรก 30-50 ล้านคน

ภาษา ตระกูล สถานะอย่างทางการ จำนวนผู้พูด
(ข้อมูลปี 2548 โดย Ethnologue [3])
จำนวนผู้พูดจากแหล่งอื่น
จีนหมิ่น (ฮกเกี้ยน)
(汉语, 閩方言)
ซิโน-ทิเบตัน
จีน
ภาษาถิ่นในจีนแผ่นดินใหญ่ ทางใต้ของ มณฑลฝูเจี้ยน บางส่วนของมณฑลกวางตุ้ง; ส่วนใหญ่ในไต้หวันและ เกาะไหหลำ 46.2 ล้านคน หมิ่นเหนือ 10.43 ล้าน หมิ่นใต้ 49 ล้าน
คุชราต
(ગુજરાતી)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
เขตกลาง
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐคุชราต ดามันและดีอู และดาดราและนครหเวลี)

ชุมชนสำคัญในฟิจิ
46.1 ล้านคน
โปแลนด์
(język)
อินโด-ยูโรเปียน
สลาวิก
ตะวันตก
เป็นภาษาราชการในโปแลนด์

ชุมชนสำคัญในเบลารุส อิสราเอล ลัตเวีย ลิทัวเนีย ยูเครน และสหรัฐอเมริกา (รัฐคอนเนตทิคัต รัฐอิลลินอยส์ และรัฐนิวเจอร์ซีย์)
42.7 ล้านคน 52 ล้านคน
ยูเครน
(украї́нська мо́ва)
อินโด-ยูโรเปียน
บอลโต-สลาวิก
สลาวิก
ตะวันออก
เป็นภาษาราชการในยูเครนและทรานสนิสเตรีย (ส่วนหนึ่งของมอลโดวาโดยนิตินัย)

ชุมชนสำคัญในเบลารุส จอร์เจีย จอร์เจีย ฮังการี คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลโดวา รัสเซีย และสโลวาเกีย
39.4 ล้านคน 47 ล้านคน
เปอร์เซีย
(فارسی)
อินโด-ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อิราเนียน
ตะวันตก
ตะวันตกเฉียงใต้
เป็นภาษาราชการในอัฟกานิสถาน อิหร่าน และทาจิกิสถาน

ชุมชนสำคัญในบาห์เรน ฝรั่งเศส เยอรมนี อิรัก อิสราเอล โอมาน กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอเมริกา และอุซเบกิสถาน
39.4 ล้านคน 61-71 ล้านคน
มาลายาลัม
[มลยาฬัง]

(Malayalam)
ดราวิเดียน
ใต้
ภาษาราชการในอินเดีย
(รัฐเกรละ ลักษทวีป และเขตมาเฮ)
ชุมชนสำคัญในบาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
35.8 ล้านคน 36 ล้านคน
กันนฑะ
(กันนะดะ)

(Kannada)
ดราวิเดียน
ใต้
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐกรณาฏกะ) 35 ล้านคน
โอริยา (Oriya) ยูโรเปียน
อินโด-อิราเนียน
อินโด-อารยัน
มคธ
เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐโอริสสา) 32 ล้านคน
พม่า ซิโน-ทิเบตัน
ทิเบโต-เบอร์มัน
โลโล-พม่า
เป็นภาษาราชการในพม่า 32 ล้านคน และ 10 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวม 42 ล้านคน
ไทย ไท-กะได
คำ-ไท
บี-ไท
ไท-แสก
ไท
ตะวันตกเฉียงใต้
เป็นภาษาราชการในไทย ~31 ล้านคน รวมทั้งหมดประมาณ 60 ล้านคน รวมภาษาถิ่นใต้ ภาษาถิ่นเหนือ/ภาษาลาวตะวันตก แต่ไม่รวมภาษาชาน ภาษาถิ่นอีสาน และภาษาลาว

[แก้] ภาษาที่มีการใช้เป็นภาษาแรก 10-30 ล้านคน

ภาษา ตระกูล สถานะอย่างทางการ จำนวนผู้พูด
อัมฮารา (Amharic) แอโฟร-เอเชียติก, เซมิติก, ใต้ ภาษาราชการในเอธิโอเปีย
ชุมชนสำคัญในอิสราเอล
27 ล้านคน และ 7 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 34 ล้านคน
ซุนดา (Sundanese) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี เป็นภาษาพื้นเมืองในอินโดนีเซีย (ชวาตะวันตก) 27 ล้านคน (พ.ศ. 2533)
อาเซอรี (Azeri) อัลตาอิก, เตอร์กิก, ตะวันตกเฉียงใต้, โอกุซ เป็นภาษาราชการในอาเซอร์ไบจาน ภาษาพื้นเมืองในอิหร่าน
ชุมชนสำคัญในอาร์เมเนีย เอสโตเนีย จอร์เจีย และอิหร่าน
21-33 ล้านคน รวมภาษากัชไก (ข้อมูลของอิหร่านยังไม่แน่นอน); 8 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง (ภายนอกอิหร่าน)
เคิร์ด (Kurdish) อินโด-ยูโรเปียน, อินโด-อิราเนียน, อิราเนียน, ตะวันตก, ตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการในอิรัก ภาษาพื้นเมืองในอาร์เมเนีย อิหร่าน ซีเรีย และตุรกี
ชุมชนในสำคัญเยอรมนีและเลบานอน
~26 ล้านคน
พาชโต (Pashto) อินโด-ยูโรเปียน, อินโด-อิราเนียน, อิราเนียน, ตะวันออก, ตะวันออกเฉียงใต้ เป็นภาษาราชการในอัฟกานิสถาน ภาษาพื้นเมืองในปากีสถาน
ชุมชนสำคัญในอิหร่านและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
21-27 ล้านคน (ข้อมูลไม่แน่นอน; ประชากรตามเชื้อชาติ ~30 ล้านคน)
เฮาซา (Hausa) แอโฟร-เอเชียติก, ชาดิก, ตะวันตก เป็นภาษาราชการในไนเจอร์และไนจีเรียเหนือ
ชุมชนสำคัญในชาด เบนิน กานา และซูดาน
24 ล้านคน และ ~ 15 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด ~ 40 ล้านคน
โอโรโม (Oromo) แอโฟร-เอเชียติก, คูชิติก, คูชิติกตะวันออก เป็นภาษาประจำชาติในเอธิโอเปีย
ชุมชนสำคัญในเคนยา
24 ล้านคน (31.6% ของเอธิโอเปีย) และ ~ 2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 26 ล้านคน
โรมาเนีย (Romanian) อินโด-ยูโรเปียน, อิตาลิก, โรมานซ์, ตะวันออก เป็นภาษาราชการในมอลโดวา โรมาเนีย และเซอร์เบีย (จังหวัดวอยวอดีนา)
ชุมชนสำคัญในกรีซ ฮังการี อิสราเอล สเปน และเซอร์เบีย
24-26 ล้านคน (พ.ศ. 2545)
อินโดนีเซีย (Indonesian) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี, มาลายิก เป็นภาษาราชการในอินโดนีเซีย
ชุมชนสำคัญในเนเธอร์แลนด์และติมอร์ตะวันออก
23 ล้านคน และมากกว่า 140 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 165 ล้านคน
ดัตช์ (Dutch) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก, ตะวันตก, เจอร์มานิกล่าง, ฟรังโคเนียนล่าง เป็นภาษาราชการในเบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และซูรินาเม 22 ล้านคน [1] [2]
ตากาล็อก (Tagalog) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, ฟิลิปปินกลาง เป็นภาษาราชการในฟิลิปปินส์
ชุมชนสำคัญในแคนาดา จีน (ฮ่องกง) กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และสหรัฐอเมริกา (รัฐอะแลสกา รัฐแคลิฟอร์เนีย กวม รัฐฮาวาย และหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา)
22 ล้านคน และ ~65 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 85 ล้านคน
อุซเบก (Uzbek) อัลตาอิก, เตอร์กิก, ตะวันออก เป็นภาษาราชการในอุซเบกิสถาน ภาษาพื้นเมืองในอัฟกานิสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน 20 ล้านคน (พ.ศ. 2539)
สินธุ (Sindhi) อินโด-ยูโรเปียน, อินโด-อิราเนียน, อินโด-อารยัน เป็นภาษาราชการในอินเดียและปากีสถาน
ชุมชนสำคัญในจีน (ฮ่องกง) ? และโอมาน?
20 ล้านคน และ 1 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 21 ล้านคน
โยรูบา (Yoruba) ไนเจอร์-คองโก, เบนเว-คองโก, Defoid, Yoruboid เป็นภาษาราชการในไนจีเรีย ภาษาพื้นเมืองในเบนิน 19 ล้านคน และ 2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 21 ล้านคน (พ.ศ. 2536)
โซมาลี (Somali) แอโฟร-เอเชียติก, คูชิติก, คูชิติกกลาง เป็นภาษาราชการในโซมาเลีย ภาษาพื้นเมืองในจิบูตี เอธิโอเปีย และเคนยา
ชุมชนสำคัญในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และเยเมน
13-25 ล้านคน
ลาว (Lao) ไท-กะได, คำ-ไท, บี-ไท, ไท, ตะวันตกเฉียงใต้ เป็นภาษาราชการในลาว ภาษาพื้นเมืองในไทย ~19 ล้านคน ภาษาถิ่นลาว-ผู้ไท (รวมภาษาถิ่นอีสาน)
เซบู (Cebuano) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, ฟิลิปปินกลาง เป็นภาษาพื้นเมืองในฟิลิปปินส์ 18.5 ล้านคน
มาเลย์ (Malay) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี, มาลายิก เป็นภาษาราชการในบรูไนดารุสซาลาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ เป็นภาษาพื้นเมืองในมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย
ชุมชนสำคัญในออสเตรเลียและบาห์เรน
18 ล้านคน และ 3 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 21 ล้านคน (ไม่นับรวมภาษาอินโดนีเซีย)
อิกโบ (Igbo) ไนเจอร์-คองโก, เบนเว-คองโก, Igboid เป็นภาษาราชการในไนจีเรีย 18 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
มาลากาซี (Malagasy) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, แบริโต เป็นภาษาราชการในมาดากัสการ์
ชุมชนสำคัญในมายอตและเรอูนียง (ฝรั่งเศส)
17 ล้านคน
เนปาล (Nepali) อินโด-ยูโรเปียน, อินโด-อิราเนียน, อินโด-อารยัน เป็นภาษาราชการในเนปาลและอินเดีย (รัฐสิกขิม)
ชุมชนสำคัญในภูฏาน
17 ล้านคน และ 10-15 ล้นคนใช้เป็นภาษาที่สอง (อาจจะ?)
อัสสัม (Assamese) อินโด-ยูโรเปียน, อินโด-อิราเนียน, อินโด-อารยัน เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐอัสสัม)
ชุมชนสำคัญในภูฏาน
15 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
ฮังการี (Hungarian) อูราลิก, ฟินโน-อูกริก, อูกริก เป็นภาษาราชการในฮังการี เซอร์เบีย (จังหวัดวอยวอดีนา) และสโลวีเนีย
ชุมชนสำคัญในอิสราเอล โรมาเนีย สโลวาเกีย และยูเครน
15 ล้านคน
โชนา (Shona) ไนเจอร์-คองโก, เบนเว-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในซิมบับเว
ชุมชนสำคัญในบอตสวานาและโมซัมบิก
15 ล้านคน และ 1.8 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 16-17 ล้านคน รวมNdau, Manyika)
เขมร (Khmer) ออสโตร-เอเชียติก, มอญ-เขมร เป็นภาษาราชการในกัมพูชา
ชุมชนสำคัญในไทย สหรัฐอเมริกา (รัฐแคลิฟอร์เนีย) และเวียดนาม
14 ล้านคน และ 1 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 15 ล้านคน (พ.ศ. 2547)
จ้วง (Zhuang) ไท-กะได, คำ-ไท, ไท เป็นภาษาราชการในจีน (เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง) 14 ล้านคน (พ.ศ. 2535) ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
มาดูรา (Madura) ออสโตรนีเชียน, มาลาโย-โปลินีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี เป็นภาษาพื้นเมืองในอินโดนีเซีย (ในเกาะชวาและเกาะมาดูรา) 14 ล้านคน (พ.ศ. 2539)
สิงหล (Sinhala) อินโด-ยูโรเปียน, อินโด-อิราเนียน, อินโด-อารยัน เป็นภาษาราชการในศรีลังกา
ชุมชนสำคัญในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
13 ล้านคน และ 2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 15 ล้านคน (พ.ศ. 2536)
ฟูลา (Fulani) ไนเจอร์-คองโก, แอตแลนติก, เหนือ, เซเนแกมเบียน เป็นภาษาราชการในไนเจอร์ ไนจีเรีย และเซเนกัล เป็นภาษาพื้นเมืองในกินีและมาลี
ชุมชนสำคัญในเบนิน บูร์กินาฟาโซ แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชาด แกมเบีย กินี-บิสเซา มอริเตเนีย และเซียร์ราลีโอน
~13 ล้านคน
เบอร์เบอร์ (Tamazight) แอโฟร-เอเชียติก, เบอร์เบอร์, เหนือ เป็นภาษาประจำชาติในแอลจีเรีย (ภาษาคาไบล์) และโมร็อกโก
ชุมชนสำคัญในฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ และสเปน (เซวตาและเมลียา)
มากกว่า 13 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
เช็ก (Czech) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก, ตะวันตก, เช็ก-สโลวัก เป็นภาษาราชการในสาธารณรัฐเช็ก 12 ล้านคน
กรีก (Greek) อินโด-ยูโรเปียน, กรีก เป็นภาษาราชการในไซปรัสและกรีซ
ชุมชนสำคัญในแอลเบเนีย ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ และจอร์เจีย
12 ล้านคน (พ.ศ. 2547)
เซอร์เบีย (Serbian) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก, ใต้ เป็นภาษาราชการในเซอร์เบีย มอนเตเนโกร และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ชุมชนสำคัญในโครเอเชีย ออสเตรเลีย สวีเดน และสวิตเซอร์แลนด์
11 ล้านคน; รวมเซอร์เบีย-โครเอเชีย-บอสเนีย = 17 ล้านคน
เกชัว (Quechua) เกชวน เป็นภาษาราชการในโบลิเวีย เอกวาดอร์ และเปรู
ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา
10.4 ล้านคน

[แก้] ภาษาที่มีการใช้เป็นภาษาแรก 3-10 ล้านคน

ภาษา ตระกูล สถานะอย่างทางการ จำนวนผู้พูด
ซูลู (Zulu) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้
ชุมชนสำคัญในเลโซโทและสวาซิแลนด์
9.6 ล้านคน และ ~16 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด ~25 ล้านคน
ชิเชวา (Chichewa) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในมาลาวีและแซมเบีย
ชุมชนสำคัญในโมซัมบิกและซิมบับเว
9.3 ล้านคน และ 0.4 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 9.7 ล้านคน
เบลารุส (Belarusian) อินโด-ยูโรเปียน, บอลโต-สลาวิก, สลาวิก, ตะวันออก เป็นภาษาราชการในเบลารุส
ชุมชนสำคัญในคาซัคสถาน ลัตเวีย และลิทัวเนีย
9.1 ล้านคน
สวีเดน (Swedish) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก, เหนือ, สแกนดิเนเวียนตะวันออก เป็นภาษาประจำชาติในสวีเดน เป็นภาษาราชการในหมู่เกาะโอลันด์ (ฟินแลนด์) และฟินแลนด์ 8.8 ล้านคน (พ.ศ. 2529)
คองโก (Kongo) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในแองโกลา คองโก-บราซซาวิล และคองโก-กินชาซา 8.7 ล้านคน รวมภาษายอมเบและภาษาคิตูบาครีโอล
อาคัน (Akan) ไนเจอร์-คองโก, กวา เป็นภาษาประจำชาติในกานา 8.3 ล้านคน และ 1 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด ~10 ล้านคน
คาซัค (Kazakh) อัลตาอิก, เตอร์กิก, ตะวันตก, อาราโล-แคสเปียน เป็นภาษาราชการในคาซัคสถาน
ชุมชนสำคัญในจีน (เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์) มองโกเลีย เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน
8.2 ล้านคน
ม้ง (Hmong) ม้ง-เมี่ยน จีน
ชุมชนสำคัญในฝรั่งเศส (เฟรนช์เกียนา) ลาว สหรัฐอเมริกา (รัฐมินนิโซตาและรัฐวิสคอนซิน)ไทย และเวียดนาม
~8 ล้านคน
ยี่ (Yi) ซิโน-ทิเบตัน, ทิเบโต-เบอร์มัน, โลโล-พม่า จีน 7.8 ล้านคน
ชิลูบา (Tshiluba) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในคองโก-กินชาซา 7.8 ล้านคน และ 0.7 ล้านใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 8.5 ล้านคน (รวมคิลูบา 1.5 ล้านคน)
อีโลกาโน (Ilokano) ออสโตรนีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, ลูซอนเหนือ ฟิลิปปินส์
ชุมชนสำคัญในสหรัฐอเมริกา (รัฐฮาวาย)
7.7 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
บัลแกเรีย (Bulgarian) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก, ใต้ เป็นภาษาราชการในบัลแกเรีย
ชุมชนสำคัญในมอลโดวา
6.6 ล้านคนในบัลแกเรีย (พ.ศ. 2548) และ ~1 ล้านคนในประเทศอื่น
อุยกูร์ (Uyghur) อัลตาอิก, เตอร์กิก, ตะวันออก เป็นภาษาราชการในจีน (เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์)
ชุมชนสำคัญในคาซัคสถาน
7.6 ล้านคน
ครีโอลเฮติ (Haitian Creole) อินโด-ยูโรเปียน, โรมานซ์, ครีโอล เป็นภาษาราชการในเฮติ
ชุมชนสำคัญในบาฮามาส แคนาดา (รัฐควิเบก) สหราชอาณาจักร (หมู่เกาะเคย์แมน) สาธารณรัฐโดมินิกัน ฝรั่งเศส (กวาเดอลูป) สหรัฐอเมริกา (รัฐคอนเนตทิคัต รัฐฟลอริดา รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวยอร์ก)
7.4 ล้านคน (พ.ศ. 2544)
คินยาร์วันดา (Kinyarwanda) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในรวันดา
ชุมชนสำคัญในคองโก-กินชาซาและยูกันดา
7.3 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
โคซา (Xhosa) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้
ชุมชนสำคัญในเลโซโท
7.2 ล้านคน
บาลูจี (Balochi) อินโด-ยูโรเปียน, อิราเนียน เป็นภาษาพื้นเมืองในอัฟกานิสถาน อิหร่าน และปากีสถาน
ชุมชนสำคัญในโอมานและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
7.0 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
ฮีลีไกนอน (Hiligaynon) ออสโตรนีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, ฟิลิปปินกลาง, วิซายัน ฟิลิปปินส์ 6.9 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
ทิกรินยา (Tigrinya) แอโฟร-เอเชียติก, เซมิติก เป็นภาษาราชการในเอริเทรียและเอธิโอเปีย 4.5 ล้านคนในเอธิโอเปีย (ร้อยละ 6 ของประชากร) ~2.25 ล้านคนในเอริเทรีย (ร้อยละ 50 ของประชากร) รวม 6.75 ล้านคน และ 146,934 คนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 6.9 ล้านคน
คาตาลัน (Catalan) อินโด-ยูโรเปียน, โรมานซ์ เป็นภาษาราชการในอันดอร์รา สเปน (หมู่เกาะแบลิแอริก แคว้นคาตาโลเนีย แคว้นบาเลนเซีย) ภาษาพื้นเมืองในฝรั่งเศส (จังหวัดปีเรเนซอเรียงตาล) และอิตาลี (อัลเกโร) 6.7 ล้านคน และ ~5 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 12 ล้านคน (พ.ศ. 2539) (รวมภาษาวาเลนเซีย)
อาร์เมเนีย (Armenian) อินโด-ยูโรเปียน, โดดเดี่ยว เป็นภาษาราชการในอาร์เมเนียและนากอร์โน-คาราบัค (ส่วนหนึ่งของอาเซอร์ไบจานโดยนิตินัย)
ชุมชนสำคัญในจอร์เจีย เลบานอน และซีเรีย
6.7 ล้านคน
มีนังกาเบา (Minangkabau) ออสโตรนีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี, มาลายิก อินโดนีเซีย (เกาะสุมาตรา) 6.5 ล้านคน
เติร์กเมน (Turkmen) อัลตาอิก, เตอร์กิก, ใต้ เป็นภาษาราชการในเติร์กเมนิสถาน ชุมชนสำคัญในอัฟกานิสถาน อิหร่าน อิรัก 6.4 ล้านคน (พ.ศ. 2538)
มากัว (Makua) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาหลักในโมซัมบิก
ชุมชนสำคัญในแทนซาเนีย
6.4 ล้านคน รวมภาษาลอมเว
โครเอเชีย (Croatian) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก, ใต้, ใต้ตะวันตก เป็นภาษาราชการในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาและโครเอเชีย
ชุมชนสำคัญในออสเตรียและสโลวีเนีย
6.2 ล้านคน
Santali (Santali) ออสโตร-เอเชียติก, มุนดา เป็นภาษาราชการในอินเดีย 6.2 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
บาตัก (Batak) ออสโตรนีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ ซุนดา-ซูลาเวซี, สุมาตราเหนือ อินโดนีเซีย ~6.2 ล้านคน รวมภาษาโตบา ภาษาไดรี ภาษาซีมาลังกัน และภาษาอื่น ๆ
แอลเบเนีย (Albanian) อินโด-ยูโรเปียน, โดดเดี่ยว เป็นภาษาราชการในแอลเบเนีย มาซิโดเนีย เซอร์เบีย (จังหวัดโคโซโว)
ชุมชนสำคัญในกรีซ
6.0 ล้านคน
แอฟริคานส์ (Afrikaans) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้
ชุมชนสำคัญในนามิเบีย
6.0 ล้านคน และ 10.3 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 16 ล้านคน
มองโกเลีย (Mongolian) อัลตาอิก, มองโกเลียน เป็นภาษาราชการในจีน (เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน) และมองโกเลีย 5.7 ล้านคน
ภิล (Bhili) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดีย 5.6 ล้านคน (พ.ศ. 2537) รวมผู้พูดภาษาวักดี 1.6 ล้านคน
ฟินแลนด์ (Finnish) อูราลิก, ฟินโน-อูกริก, ฟินโน-วอลกาอิก, ฟินโน-แลปปิก, บอลติก-ฟินนิก เป็นภาษาราชการในฟินแลนด์ รัสเซีย (สาธารณรัฐคาเรลียา)
ชุมชนสำคัญในสวีเดน
5.4 ล้านคน (พ.ศ. 2536)
กิคูยู (Gikuyu) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาหลักในเคนยา 5.3 ล้านคน (พ.ศ. 2537)
เดนมาร์ก (Danish) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก, เจอร์มานิกเหนือ เป็นภาษาราชการในเดนมาร์ก หมู่เกาะแฟโร (เดนมาร์ก) และกรีนแลนด์ (เดนมาร์ก)
ชุมชนสำคัญในเยอรมนี (เซาเทิร์นชเลสวิก)
5.3 ล้านคน (พ.ศ. 2523)
ฮิบรู (Hebrew) แอโฟร-เอเชียติก, เซมิติก เป็นภาษาราชการในอิสราเอล
ชุมชนสำคัญในเขตเวสต์แบงก์ (ปาเลสไตน์)
5.1 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
สโลวัก (Slovak) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก, ตะวันตก, เช็ก-สโลวัก เป็นภาษาราชการในสโลวาเกีย 5.0 ล้านคน
มอเร (Mòoré) ไนเจอร์-คองโก, กูร์ เป็นภาษาประจำชาติในบูร์กินาฟาโซ ~5 ล้านคน (พ.ศ. 2534)
สวาฮีลี (Swahili) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในคองโก-กินชาซา เคนยา และแทนซาเนีย
ชุมชนสำคัญในคอโมโรส มายอต (ฝรั่งเศส) โอมาน และเรอูนียง (ฝรั่งเศส)
~5 ล้านคน และ ~40 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง
กวารานี (Guarani) ตูปี เป็นภาษาราชการในปารากวัย
ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา
4.9 ล้านคน (พ.ศ. 2538)
คิรุนดี (Kirundi) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในบุรุนดี 4.9 ล้านคน (พ.ศ. 2529)
เซโซโท (ใต้) (Sesotho, South) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในเลโซโทและแอฟริกาใต้ 4.9 ล้านคน
โรมา (Romani) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก ชุมชนสำคัญในแอลเบเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย โครเอเชีย สาธารณรัฐเช็ก ฮังการี อิหร่าน มาซิโดเนีย เนเธอร์แลนด์ โรมาเนีย เซอร์เบีย สโลวาเกีย และตุรกี 4.8 ล้านคน รวมโดมารี
นอร์เวย์ (Norwegian) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก เป็นภาษาราชการในนอร์เวย์ 4.6 ล้านคน
ทิเบต (Tibetan) ซิโน-ทิเบตัน, ทิเบโต-เบอร์มัน, ฮิมาลายิช เป็นภาษาราชการในจีน (เขตปกครองตนเองทิเบต มณฑลชิงไห่ และบางส่วนของมณฑลเสฉวนและมณฑลกานซู) 4.6 ล้านคน
คานูรี (Kanuri) นีโล-สะฮารัน, สะฮารัน เป็นภาษาราชการในไนเจอร์และไนจีเรีย
ชุมชนสำคัญในชาด (ภาษาคาเนมบู)
4.4 ล้านคน และ 0.5 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 4.9 ล้านคน
ซวานา (Tswana) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในบอตสวานาและแอฟริกาใต้ ภาษาประจำชาติในนามิเบีย 4.4 ล้านคน และ 0.2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 4.6 ล้านคน
กัศมีร์ (แคชเมียร์) (Kashmiri) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐชัมมูและกัษมีร์) ภาษาพื้นเมืองในปากีสถาน 4.6 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
จอร์เจีย (Georgian) คอเคซัสใต้ เป็นภาษาราชการในจอร์เจีย
ชุมชนสำคัญในอิสราเอล
4.2 ล้านคน
อุมบุนดู (Umbundu) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในแองโกลา ~4 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
กงกัณ (Konkani) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐกัว) ~4 ล้านคน (พ.ศ. 2542)
บาหลี (Balinese) ออสโตรนีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี, บาหลี-ซาซัก อินโดนีเซีย (เกาะบาหลีและเกาะลอมบ็อก) 3.9 ล้านคน (พ.ศ. 2544)
โซโทเหนือ (Northern Sotho) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้
ชุมชนสำคัญในบอตสวานา
3.7 ล้านคน (พ.ศ. 2539)
บิกอล (Bikol) ออสโตรนีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, ฟิลิปปินกลาง ฟิลิปปินส์ 3.7 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
ลูเยีย (Luyia) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เคนยา 3.6 ล้านคน
โวลอฟ (Wolof) ไนเจอร์-คองโก, แอตแลนติก เป็นภาษาราชการในเซเนกัล
ชุมชนสำคัญในแกมเบีย
3.6 ล้านคน (พ.ศ. 2545) ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
เบมบา (Bemba) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในแซมเบีย 3.6 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
บูกิส (Buginese) ออสโตรนีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี, ซูลาเวซีใต้ อินโดนีเซีย 3.5 ล้านคน และ 0.5 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด ~4 ล้านคน
โดลัว (Luo; Dholuo) นีโล-สะฮารัน, นีโลติก เคนยา 3.5 ล้านคน
มานิงกา (Maninka) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาประจำชาติในกินีและมาลี
ชุมชนสำคัญในไลบีเรีย เซเนกัล และเซียร์ราลีโอน
3.3 ล้านคน
มาซันดารัน (Mazandarani) อินโด-ยูโรเปียน, อิราเนียน อิหร่าน 3.3 ล้านคน (พ.ศ. 2536)
กีลัก (Gilaki) อินโด-ยูโรเปียน, อิราเนียน อิหร่าน 3.3 ล้านคน (พ.ศ. 2536)
ชาน (Shan) ไท-กะได, คำ-ไท, ไท พม่า 3.3 ล้านคน
ซองกา (Tsonga) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แอฟริกาใต้
ชุมชนสำคัญในโมซัมบิกและสวาซิแลนด์
3.3 ล้านคน
กาลิเซีย (Galician) อินโด-ยูโรเปียน, โรมานซ์, กอลโล-ไอบีเรียน, โปรตุเกส-กาลิเซีย เป็นภาษาราชการในสเปน 3.2 ล้านคน
ซูคูมา (Sukuma) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แทนซาเนีย 3.2 ล้านคน
ยิดดิช (Yiddish) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก ชุมชนสำคัญในเบลารุส อิสราเอล ลัตเวีย และยูเครน 3.2 ล้านคน
ครีโอลจาเมกา (Jamaican Creole) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก, ครีโอล จาเมกา
ชุมชนสำคัญในปานามาและคอสตาริกา
3.2 ล้านคน (พ.ศ. 2544)
คีร์กีซ (Kyrgyz) อัลตาอิก, เตอร์กิก, ตะวันตก, อาราโล-แคสเปียน เป็นภาษาราชการในคีร์กีซสถาน ภาษาพื้นเมืองในทาจิกิสถาน 3.1 ล้านคน
วาไร-วาไร (Waray-Waray) ออสโตรนีเชียน, บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์, ฟิลิปปินกลาง, วิซายัน ฟิลิปปินส์ 3.1 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
เอเว (Ewe) ไนเจอร์-คองโก, กวา เป็นภาษาราชการในโตโก ภาษาประจำชาติในกานา 3.1 ล้านคน และ 0.5 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 3.6 ล้านคน (พ.ศ. 2546)
ลิทัวเนีย (Lithuanian) อินโด-ยูโรเปียน, บอลติก, ตะวันออก เป็นภาษาราชการในลิทัวเนีย
ชุมชนสำคัญในลัตเวีย
3.1 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
ลูกันดา (Luganda) ไนเจอร์-คองโก, บันตู ภาษาหลักในยูกันดา 3.0 ล้านคน และ ~1 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด ~4 ล้านคน
อะเจะห์ (Achinese) ออสโตรนีเชียน, ซุนดา-ซูลาเวซี, มาลายิก อินโดนีเซีย ~3 ล้านคน
คิมบุนดู (Kimbundu) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในแองโกลา ~3 ล้านคน
ฮินด์โก (Hindko) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก ปากีสถาน ~3 ล้านคน (พ.ศ. 2536)
อิบิบิโอ-เอฟิก (Ibibio-Efik) ไนเจอร์-คองโก, ครอสส์ริเวอร์ ภาษาเอฟิกเป็นภาษาราชการในไนจีเรีย ~3 ล้านคน รวมภาษาอะนาง

[แก้] ภาษาที่มีการใช้เป็นภาษาแรก 1-3 ล้านคน

ภาษา ตระกูล สถานะอย่างทางการ จำนวนผู้พูด
Rajbangsi (Rajbangsi) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดีย 3.0 ล้านคน
ครห์วัล (Garhwali) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดีย 2.9 ล้านคน
บัมบารา (Bambara) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาประจำชาติในมาลี 2.8 ล้านคน และ 10 ล้านคนพูดเป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 13 ล้านคน
โอเมโต (Ometo) แอโฟร-เอเชียติก, โอโมติก เอธิโอเปีย 2.8 ล้านคน รวมโวเลย์ตตา
ภาษาสัญลักษณ์อินเดีย (Indian Sign Language) ภาษาโดดเดี่ยว (ภาษาสัญลักษณ์) บังกลาเทศ อินเดีย และปากีสถาน 2.7 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้ในบังกลาเทศและปากีสถาน (พ.ศ. 2546) ภาษาเดียวกับภาษาสัญลักษณ์ปากีสถาน
ครีโอลเบตาวี (Betawi creole) ออสโตรนีเชียน อินโดนีเซีย 2.7 ล้านคน
กะเหรี่ยง (Karen) ซิโน-ทิเบตัน พม่าและไทย 2.6 ล้านคน
กอนด์ (Gondi) ดราวิเดียน อินเดีย 2.6 ล้านคน
เซนูโฟ (Senoufo) ไนเจอร์-คองโก, กูร์ เป็นภาษาประจำชาติในมาลี ภาษาพื้นเมืองในบูร์กินาฟาโซและโกตดิวัวร์ 2.6 ล้านคน
คาเลนจิน (Kalenjin) นีโล-สะฮารัน, นีโลติก เคนยา 2.5 ล้านคน
คูเมานี (Kumauni) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดีย 2.4 ล้านคนในอินเดีย (พ.ศ. 2541)
คัมบา (Kamba) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เคนยา 2.4 ล้านคน และ 0.6 ล้านคนพูดเป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 3.0 ล้านคน
ลูรี (Luri) อินโด-ยูโรเปียน, อิราเนียน อิหร่าน 2.4 ล้านคน (พ.ศ. 2542, 2544)
กีเช (Quiché) มายัน กัวเตมาลา 2.3 ล้านคน
กาปัมปังกัน (Kapampangan) ออสโตรนีเชียน ฟิลิปปินส์ 2.3 ล้านคน
บอสเนีย (Bosnian) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก, ใต้, ใต้ตะวันตก เป็นภาษาราชการในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1.8-2.7 ล้านคน (พ.ศ. 2547)
ไอย์มารา (Aymara) ไอย์มารัน เป็นภาษาราชการในโบลิเวียและเปรู
ชุมชนสำคัญในอาร์เจนตินา
2.2 ล้านคน
ทิฟ (Tiv) ไนเจอร์-คองโก, บันตอยด์ ไนจีเรีย 2.2 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
บราฮุย (Brahui) ดราวิเดียน ปากีสถานและอัฟกานิสถาน 2.2 ล้านคน
กบายา (Gbaya) ไนเจอร์-คองโก, อูบังเกียน สาธารณรัฐแอฟริกากลางและคองโก-กินชาซา 2.2 ล้านคน รวมงบากา
ซาร์มา (Zarma) นีโล-สะฮารัน, ซองไฮ เป็นภาษาราชการในไนเจอร์ 2.2 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
บาอูเล (Baoulé) ไนเจอร์-คองโก, กวา โกตดิวัวร์ 2.1 ล้านคน
โฑครี (Dogri) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐชัมมูและแคชเมียร์) 2.1 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
ลิงกาลา (Lingala) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในคองโก-บราซซาวิลและคองโก-กินชาซา 2.1 ล้านคน และ 7 ล้านคนในคองโก-กินชาซาใช้เป็นภาษาที่สอง ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สองในคองโก-บราซซาวิล รวมทั้งหมด 9 ล้านคนเศษ
ซาซะก์ (Sasak) ออสโตรนีเชียน อินโดนีเซีย 2.1 ล้านคน (พ.ศ. 2532)
คูรุกซ์ (Kurux) ดราวิเดียน อินเดียและเนปาล 2.1 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
มุนดารี (Mundari) ออสโตร-เอเชียติก, มุนดา อินเดีย 2.1 ล้านคน
ดิงกา (Dinka) นีโล-สะฮารัน, นีโลติก ซูดานใต้ 2 ล้านคนเศษ
สโลวีเนีย (Slovenian) อินโด-ยูโรเปียน, บอลโต-สลาวิก, สลาวิก, ใต้, ใต้ตะวันตก เป็นภาษาราชการในออสเตรีย อิตาลี และสโลวีเนีย 2.0 ล้านคน
ปูเยย์ (Buyei) ไท-กะได จีน ~2 ล้านคน
เบตี-ปาวิน (Beti-Pahuin) ไนเจอร์-คองโก, บันตู ภาษาหลักในกาบองและอิเควทอเรียลกินี
ชุมชนสำคัญในแคเมอรูนและเซาตูเมและปรินซิปี
~2 ล้าน รวมแฟง เอวอนโด และภาษาอื่น ๆ
ดิมลี (ซาซา) (Dimli; Zazaki) อินโด-ยูโรเปียน, อิราเนียน ตุรกี 1.5-2.5 ล้านคน
ตุฬุ (Tulu) ดราวิเดียน อินเดีย 1.9 ล้านคน
ซีดาโม (Sidamo) แอโฟร-เอเชียติก, คูชิติก เอธิโอเปีย 1.9 ล้านคน และ 0.1 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 2.0 ล้านคน
บัชคีร์ (Bashkir) อัลตาอิก, เตอร์กิก, เหนือ เป็นภาษาราชการในรัสเซีย (สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน) 1.9 ล้านคน
ยาโอ (Yao) ไนเจอร์-คองโก, บันตู มาลาวี แทนซาเนีย และโมซัมบิก ~1.9 ล้านคน
ชูวัช (Chuvash) อัลตาอิก, เตอร์กิก, โอกูริก, โพรโต-บัลการ์ เป็นภาษาราชการในรัสเซีย (สาธารณรัฐชูวัช) 1.8 ล้านคน และ 0.2 ล้านคนพูดเป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 2.0 ล้านคน
อิจอ (Ijaw) ไนเจอร์-คองโก, ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ ไนจีเรีย 1.8 ล้านคน
ฟอน (Fon) ไนเจอร์-คองโก, กวา เป็นภาษาประจำชาติในเบนิน
ชุมชนสำคัญในโตโก
1.7 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
สวาซี (Swazi) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้และสวาซิแลนด์
ชุมชนสำคัญในเลโซโท
1.7 ล้านคน
เนียนคอเร (Nyankore) ไนเจอร์-คองโก, บันตู ยูกันดา 1.6 ล้านคน
ตาตาร์ (Tatar) อัลตาอิก, เตอร์กิก เป็นภาษาราชการในรัสเซีย (สาธารณรัฐตาตาร์สถาน)
ชุมชนสำคัญในสาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน (รัสเซีย) คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน
1.6 ล้านคน (เชื้อชาติตาตาร์ 6.6 ล้านคน)
มากาซาร์ (Makasar) ออสโตรนีเชียน อินโดนีเซีย 1.6 ล้านคน และ 0.4 ล้านคนพูดเป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด 2 ล้านคน (พ.ศ. 2532)
มาซิโดเนีย (Macedonian) อินโด-ยูโรเปียน, สลาวิก เป็นภาษาราชการในมาซิโดเนีย 1.6 ล้านคน
กูซี (Gusii) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เคนยา 1.6 ล้านคน
คานเทสี (Khandesi) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดีย 1.6 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
นเดเบเล (Ndebele) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้ ภาษาประจำชาติในซิมบับเว 1.6 ล้านคน
ฉิ่น (Chin) ซิโน-ทิเบตัน, ทิเบโต-เบอร์มัน พม่าและอินเดีย 1.6 ล้านคน ไม่รวมมิโซ
ซารา (Sara) นีโล-สะฮารัน, ซูดานิกกลาง, บองโก-ลากีร์มี เป็นภาษาประจำชาติในชาด
ชุมชนสำคัญในสาธารณรัฐแอฟริกากลาง
1.5 ล้านคน มีผู้พูดเป็นภาษาที่สองจำนวนมาก
ปังกาซีนัน (Pangasinan) ออสโตรนีเชียน ฟิลิปปินส์ 1.5 ล้านคน
ลัตเวีย (Latvian) อินโด-ยูโรเปียน, บอลติก, ตะวันออก เป็นภาษาราชการในลัตเวีย
ชุมชนสำคัญในออสเตรเลีย
1.5 ล้านคน
ทองกา (Tonga) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แซมเบียและซิมบับเว 1.5 ล้านคน
ลัมปุง (Lampung) ออสโตรนีเชียน อินโดนีเซีย ~1.5 ล้านคน
ซาร์ดิเนีย (Sardinian) อินโด-ยูโรเปียน, อิตาลิก, โรมานซ์, ใต้ เป็นภาษาราชการในอิตาลี (เกาะซาร์ดิเนีย) ~1.5 ล้านคน
สกอตส์ (Scots) อินโด-ยูโรเปียน, เจอร์มานิก, ตะวันตก, แองโกล-ฟริเชียน, แองกลิก สกอตแลนด์
ชุมชนสำคัญในไอร์แลนด์เหนือ
~1.5 ล้านคน
ต้อง (Dong) ไท-กะได จีน 1.5 ล้านคน
เมนเด (Mende) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาประจำชาติในเซียร์ราลีโอน 1.5 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
ไท่ (Tày) ไท-กะได เวียดนาม 1.5 ล้านคนในเวียดนาม
นาวาตล์ (Nahuatl) อูโต-แอซเทกัน, โดดเดี่ยว เม็กซิโก 1.4 ล้านคน
อะฟาร์ (Afar) แอโฟร-เอเชียติก, คูชิติก เอธิโอเปีย เอริเทรีย และจิบูตี 1.4 ล้านคน
ดักบัน (Dagbani) ไนเจอร์-คองโก, กูร์ เป็นภาษาประจำชาติในกานา 1.4 ล้านคน รวมคูซาลและมัมปรูลี
โคลี (Koli) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดียและปากีสถาน 1.4 ล้านคน
ชิกา (Chiga) ไนเจอร์-คองโก, บันตู ยูกันดา 1.4 ล้านคน
โซกา (Soga) ไนเจอร์-คองโก, บันตู ยูกันดา 1.4 ล้านคน
ทุมบูกา (Tumbuka) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในมาลาวี
ชุมชนสำคัญในแซมเบีย
1.3 ล้านคน
อิวเมี่ยน (Iu Mien) ม้ง-เมี่ยน, เย้า จีน 1.3 ล้านคน
เมรู (Meru) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เคนยา 1.3 ล้านคน
โกโก (Gogo) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แทนซาเนีย ~1.3 ล้านคน
เตโซ นีโล-สะฮารัน, นีโลติก ยูกันดา
ชุมชนสำคัญในเคนยา
1.3 ล้านคน
เมเท (มณีปุระ) (Meithei; Manupuri) ซิโน-ทิเบตัน เป็นภาษาราชการในอินเดีย (รัฐมณีปุระ) 1.3 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
ตามัง (Tamang) ซิโน-ทิเบตัน เนปาล 1.3 ล้านคน
มาคอนเด (Makonde) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แทนซาเนียและโมซัมบิก 1.3 ล้านคน
ไป๋ (Bai) ซิโน-ทิเบตัน, ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ จีน 1.2 ล้านคน
ทัวเร็ก (Tuareg) แอโฟร-เอเชียติก, เบอร์เบอร์, ใต้ เป็นภาษาราชการในไนเจอร์ ภาษาประจำชาติในมาลี 1.2 ล้านคน (พ.ศ. 2534-2541)
มันดิงกา (Mandinka) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาราชการในเซเนกัล
ชุมชนสำคัญในแกมเบียและกินี-บิสเซา
1.2 ล้านคน (พ.ศ. 2545)
จูลา (Dioula) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาพื้นเมืองในบูร์กินาฟาโซ
ชุมชนสำคัญในโกตดิวัวร์
~1.2 ล้านคน และ 3-4 ล้านคน ใช้เป็นภาษาที่สอง
เตมเน (Temne) ไนเจอร์-คองโก, แอตแลนติก เป็นภาษาประจำชาติในเซียร์ราลีโอน 1.2 ล้านคน และ 0.2 ล้านคนใช้เป็นภาษาที่สอง รวมทั้งหมด ~1.4 ล้านคน
ฮายา (Haya) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แทนซาเนีย ~1.2 ล้านคน
เซอเรอร์ (Serer) ไนเจอร์-คองโก, แอตแลนติก เป็นภาษาราชการในเซเนกัล
ชุมชนสำคัญในแกมเบีย
1.2 ล้านคน
เบจา (Beja) แอโฟร-เอเชียติก, คูชิติกหรือโดดเดี่ยว ซูดานและเอริเทรีย 1.2 ล้านคน
เนียมเวซี (Nyamwezi) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แทนซาเนีย 1.2 ล้านคน
อับรอน (Abron) ไนเจอร์-คองโก, กวา กานา 1.2 ล้านคน
อะลูร์ (Alur) นีโล-สะฮารัน, นีโลติก คองโก-กินชาซา 1.2 ล้านคน
เซนา (Sena) ไนเจอร์-คองโก, บันตู โมซัมบิกและมาลาวี 1.2 ล้านคน
อะซันเด (Azande) ไนเจอร์-คองโก, อูบังเกียน คองโก-กินชาซา ซูดานใต้ สาธารณรัฐแอฟริกากลาง 1.1 ล้านคน
วัลลูน (Walloon) อินโด-ยูโรเปียน, โรมานซ์, กอลโล-โรมานซ์, โออิล เบลเยียม 1.1 ล้านคน (พ.ศ. 2541)
อันยี (Anyi) ไนเจอร์-คองโก, กวา โกตดิวัวร์และกานา 1.2 ล้านคน
มัลวี (Malvi) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อินเดีย 1.1 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
กีนาไรอา
(Kinaray-a)
ออสโตรนีเชียน ฟิลิปปินส์ 1.1 ล้านคน
โซนิงเก (Soninke) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาราชการในเซเนกัล ภาษาประจำชาติในมาลี
ชุมชนสำคัญในบูร์กินาฟาโซ โกตดิวัวร์ แกมเบีย และมอริเตเนีย
1.10 ล้านคน (พ.ศ. 2534)
โฮ (Ho) ออสโตร-เอเชียติก, มุนดา อินเดีย 1.08 ล้านคน (พ.ศ. 2540)
เอสโตเนีย (Estonian) อูราลิก, ฟินโน-อูกริก, ฟินโน-แลปปิก, บอลติก-ฟินนิก เป็นภาษาราชการในเอสโตเนีย 1.08 ล้านคน
เนียคิวซา (Nyakyusa) ไนเจอร์-คองโก, บันตู แทนซาเนียและมาลาวี 1.05 ล้านคน
กวารี (Gwari) ไนเจอร์-คองโก, นูเป ไนจีเรีย 1.05 ล้านคน
ลุกบารา (Lugbara) นีโล-สะฮารัน, ซูดานิกกลาง, โมรู-มาดี คองโก-กินชาซาและยูกันดา 1.04 ล้านคน
นาคา (Naga) ซิโน-ทิเบตัน อินเดีย 1.03 ล้านคน
ซูซู (Susu) ไนเจอร์-คองโก, มันเด เป็นภาษาประจำชาติในกินี
ชุมชนสำคัญในเซียร์ราลีโอน
1.03 ล้านคน
เทาซุก (Tausug) ออสโตรนีเชียน ฟิลิปปินส์ 1.02 ล้านคน
โชเกว (Chokwe) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาประจำชาติในแองโกลา
ชุมชนสำคัญในคองโก-กินชาซา
1.01 ล้านคน
คาร์บาเดีย (Kabardian) คอเคเซียน, ซีร์กัสเซียน เป็นภาษาราชการในรัสเซีย (สาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรีย)
ชุมชนสำคัญในสาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์ (รัสเซีย) และตุรกี
1.01 ล้านคน
ริวกิว (Ryukyu) จาโปนิก, ริวกิว ญี่ปุ่น 1.01 ล้านคน
มากินดาเนา (Maguindanao) ออสโตรนีเชียน ฟิลิปปินส์ 1.0 ล้านคน ไม่ทราบจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาที่สอง
มาราเนา (Maranao) ออสโตรนีเชียน ฟิลิปปินส์ 1.0 ล้านคน
ซองเก (Songe) ไนเจอร์-คองโก, บันตู คองโก-กินชาซา ~1 ล้านคน
รจัง (Rejang) ออสโตรนีเชียน อินโดนีเซีย ~1 ล้านคน
เอโด (บินี) (Edo; Bini) ไนเจอร์-คองโก เป็นภาษาราชการในไนจีเรีย ~1 ล้านคน
เอบิรา (Ebira) ไนเจอร์-คองโก, นูเป ไนจีเรีย ~1 ล้านคน
ดากาเร (Dagaare) ไนเจอร์-คองโก, กูร์ เป็นภาษาประจำชาติในกานา
ชุมชนสำคัญในบูร์กินาฟาโซ
~1 ล้านคน (พ.ศ. 2546)
กูจาริ (Gujari) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก อัฟกานิสถาน อินเดีย และปากีสถาน 0.99 ล้านคน
ทารุ (Tharu) อินโด-ยูโรเปียน, อินดิก เนปาล 0.99 ล้านคน
เชเชน (Chechen) คอเคเซียน, นัค เป็นภาษาราชการในรัสเซีย (สาธารณรัฐเชชเนีย) 0.96 ล้านคน
เวนดา (Venda) ไนเจอร์-คองโก, บันตู เป็นภาษาราชการในแอฟริกาใต้ 0.96 ล้านคน
ยะไข่ (Arakanese) ซิโน-ทิเบตัน พม่าและบังกลาเทศ 0.95 ล้านคน

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ http://www.ethnologue.com/
  2. ^ http://www.ethnologue.com/
  3. ^ http://www.ethnologue.com/


aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - en - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu -