ภาษาโรมาเนีย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาโรมาเนีย română - โรมินะ |
||
---|---|---|
เสียงอ่าน: | ro'mɨnə | |
พูดใน: | โรมาเนีย มอลโดวา วอยวอดีนา เซอร์เบีย แคนาดา สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ยูเครน อิสราเอล ฮังการี บอลข่าน | |
จำนวนผู้พูด: | ประมาณ 25 ล้านคน | |
อันดับ: | 36 | |
ตระกูลภาษา: | อินโด-ยูโรเปียน อิตาลิก โรมานซ์ โรมานซ์ตะวันออก ภาษาโรมาเนีย |
|
สถานะทางการ | ||
ภาษาทางการใน: | โรมาเนีย มอลโดวา วอยวอดีนา (เซอร์เบีย) | |
องค์กรควบคุม: | บัณฑิตยสถานโรมาเนีย | |
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | ro | |
ISO 639-2: | rum (B) | ron (T) |
ISO 639-3: | ron | |
|
||
หมายเหตุ: บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ | ||
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา |
ภาษาโรมาเนีย (limba română IPA /'limba ro'mɨnə/: ลิมบา โรมินะ) เป็นภาษาราชการของประเทศโรมาเนีย จัดเป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ทางตะวันออกที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 26 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศโรมาเนียและวอยวอดีนา (Vojvodina)
ในเชิงภาษาศาสตร์แล้ว ภาษาโรมาเนียและภาษามอลโดวา (ภาษาราชการของประเทศมอลโดวา) เป็นประเภทต่าง ๆ ของภาษาเดียวกัน อย่างไรก็ดี อาจจัดเป็นภาษาที่ต่างกันโดยเหตุผลทางการเมือง
|
|||||
---|---|---|---|---|---|
โรมานซ์ใต้ | คอร์ซิกา (กัลลูรา) • ซัสซาร์ • ซาร์ดิเนีย (กัมปีดาโน, โลกูโดโร) | ||||
โรมานซ์ตะวันออก | โรมาเนีย (มอลโดวา, วลาช) • อะโรมาเนียน • เมเกลโน-โรมาเนีย • อิสโตร-โรมาเนีย | ||||
อิตาโล-ดัลเมเชียนโรมานซ์ | อิตาลี (อิตาลีกลาง, ฟลอเรนซ์, ทัสกัน, โรมาเนสโก, จูดีโอ-อิตาลี) • กาลาเบรีย • ดัลเมเชีย† • อิสเตรีย • เนเปิลส์ • ซิซิลี | ||||
โรมานซ์ตะวันตก |
|
||||
|
ภาษาโรมาเนีย เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษาโรมาเนีย ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา |