ประเทศอิหร่าน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||
คำขวัญ: เปอร์เซีย: Esteqlāl, āzādī, jomhūrī-ye eslāmī ("Independence, freedom, (the) Islamic Republic") |
|||||
เพลงชาติ: Sorūd-e Mellī-e Īrān | |||||
เมืองหลวง | เตหะราน |
||||
เมืองใหญ่สุด | เตหะราน | ||||
ภาษาราชการ | ภาษาเปอร์เซีย | ||||
รัฐบาล | สาธารณรัฐอิสลาม | ||||
ผู้นำสูงสุด ประธานาธิบดี |
อายะตุลลอห์ อาลี คาเมเนอี มาห์มูด อาห์มาดีเนจาด |
||||
การปฏิวัติ ประกาศ |
11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 | ||||
เนื้อที่ - ทั้งหมด - พื้นน้ำ (%) |
1,648,195 กม.² (อันดับที่ 17) 636,372 ไมล์² 0.7% |
||||
ประชากร - 2548 ประมาณ - 2539 - ความหนาแน่น |
68,467,413 (อันดับที่ 18) 60,055,488 41/กม² (อันดับที่ 128) 106/ไมล์² |
||||
GDP (PPP) - รวม - ต่อประชากร |
2548 ค่าประมาณ 560.348 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 19) 8,065 ดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 74) |
||||
HDI (2549) | 0.736 (อันดับที่ 99) – กลาง | ||||
สกุลเงิน | เรียลอิหร่าน (ريال) (IRR ) |
||||
เขตเวลา - ฤดูร้อน (DST) |
(UTC+3.30) (UTC+3.30) |
||||
รหัสอินเทอร์เน็ต | .ir | ||||
รหัสโทรศัพท์ | +98 |
ประเทศอิหร่าน (ภาษาเปอร์เซีย: Īrān, ایران) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งช่วงก่อนปี พ.ศ. 2478 ชาวตะวันตกเรียกว่า เปอร์เซีย (Persia)
อิหร่านมีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดต่อกับปากีสถาน (909 กิโลเมตร) และอัฟกานิสถาน (936 กิโลเมตร) ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเติร์กเมนิสถาน (1,000 กิโลเมตร) ทิศเหนือจรดทะเลแคสเปียน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับอาเซอร์ไบจาน (500 กิโลเมตร) และอาร์เมเนีย (35 กิโลเมตร) ตุรกี (500 กิโลเมตร) และอิรัก (1,458 กิโลเมตร) ส่วนทิศใต้จรดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมาน
ในปี พ.ศ. 2522 การปฏิวัตินำโดยอายะตุลลอห์ โคไมนี (Ayatollah Khomeini) ทำให้มีการก่อตั้งเป็น สาธารณรัฐอิสลามโดยโค่นล้มราชวงศ์ปาห์เลวีที่ปกครองภายใต้สาธารณรัฐอิสลามเทวาธิปไตย (theocratic Islamic republic) ทำให้ชื่อเต็มของประเทศนี้ในปัจจุบันคือ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน (Islamic Republic of Iran, جمهوری اسلامی ایران)
เนื้อหา |
[แก้] ประวัติศาสตร์
อิกสวเอสปกเหก
[แก้] การเมือง
ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งประกาศใช้เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) กำหนดให้อิหร่านเป็นสาธารณรัฐอิสลาม โดยมีโครงสร้างดังนี้
[แก้] ประมุขสูงสุด (Rahbar)
ประมุขสูงสุดของอิหร่านคนปัจจุบันคือ อาลี คาเมเนอี (เกิดเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2482) เป็นผู้นำสูงสุดทั้งฝ่ายศาสนาจักรและอาณาจักร
[แก้] ประธานาธิบดี (Ra'is-e Jomhoor)
เป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก ๆ 4 ปี และจะได้รับเลือกตั้งได้ไม่เกิน 2 สมัย ทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหาร ถึงแม้ประธานาธิบดีจะได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนก็ตาม แต่อาจถูกถอดถอนจากตำแหน่งโดยประมุขสูงสุดได้
[แก้] รองประธานาธิบดี
มีตำแหน่งรองประธานาธิบดี 6 คน และคณะรัฐมนตรี 20 คน ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
[แก้] สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (Majlis)
ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก ๆ 4 ปี จำนวน 290 คน ทำหน้าที่ออกกฎหมายและควบคุมฝ่ายบริหาร
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง
ประเทศอิหร่านแบ่งออกเป็น 30 จังหวัด (provinces - ostanha) แต่ละจังหวัดปกครองโดยผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งมาจากการแต่งตั้ง (استاندار: ostāndār)
[แก้] ภูมิศาสตร์
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
ประเทศอิหร่านเป็นประเทศที่มีประชากรมาก
[แก้] เศรษฐกิจ
- ดี
[แก้] ประชากร
[แก้] เชื้อชาติ
- เปอร์เซีย 51%
- อาเซอรี 24%
- กิลัค (กิลาคิ)-มาซานดาราน 8%
- เคิร์ด 7%
- อาหรับ 3%
- บาลูช 2%
- เติร์กเมน 2%
- ลูร์ 2%
- อื่น ๆ 1%
[แก้] ภาษา
- ภาษาเปอร์เซีย 58%
- ภาษาเตอร์กิก 26%
- ภาษาเคิร์ด 9%
- ภาษาบาลูชี 1%
- ภาษาอาหรับ 1%
- อื่นๆ 1%
[แก้] ศาสนา
- ศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์ 89%
- ศาสนาอิสลามนิกายซุนนีย์ 9%
- ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์ ศาสนาบาฮาอี ศาสนามานดินี ศาสนากนอสติก 2%
[แก้] อัตราการอ่านออกเขียนได้
- อัตราการอ่านออกเขียนได้ตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป 80%
- ผู้ชายที่อ่านออกเขียนได้ 86%
- ผู้หญิงที่อ่านออกเขียนได้ 73%
[แก้] วัฒนธรรม
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
|
||
---|---|---|
ประเทศ | กัมพูชา • กาตาร์ • เกาหลีใต้ • เกาหลีเหนือ • คาซัคสถาน1 • คีร์กีซสถาน • คูเวต • จอร์เจีย1 • จอร์แดน • จีน • ญี่ปุ่น • ซาอุดีอาระเบีย • ซีเรีย • ไซปรัส2 • ติมอร์ตะวันออก3 • ตุรกี1 • เติร์กเมนิสถาน • ทาจิกิสถาน • ไทย • เนปาล • บรูไน • บังกลาเทศ • บาห์เรน • ปากีสถาน • พม่า • ฟิลิปปินส์ • ภูฏาน • มองโกเลีย • มัลดีฟส์ • มาเลเซีย • เยเมน • รัสเซีย1 • ลาว • เลบานอน • เวียดนาม • ศรีลังกา • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ • สิงคโปร์ • อัฟกานิสถาน • อาเซอร์ไบจาน1 • อาร์เมเนีย2 • อินเดีย • อินโดนีเซีย3 • อิรัก • อิสราเอล • อิหร่าน • อียิปต์4 • อุซเบกิสถาน • โอมาน | |
ดินแดน | ฮ่องกง (จีน) • ชัมมูและกัษมีระ (อินเดีย/ปากีสถาน/จีน) • เคอร์ดิสถาน (อิรัก) • มาเก๊า (จีน) • นากอร์โน-คาราบัค1 (อาเซอร์ไบจาน) • ปาเลสไตน์: ฉนวนกาซา • เวสต์แบงก์ (อิสราเอล/รัฐบาลปาเลสไตน์) •ไต้หวัน (จีน/รัฐบาลไต้หวัน) • สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ1 (ไซปรัส) | |
(1) อาจจัดให้อยู่ในทวีปยุโรป; (2) อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองสังคมกับทวีปยุโรป; (3) อาจจัดพื้นที่บางส่วน/ทั้งหมดให้อยู่ในเขตโอเชียเนีย; (4) พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปแอฟริกา |
|
|
---|---|
กาตาร์ • คูเวต • ซาอุดีอาระเบีย • ไนจีเรีย • ลิเบีย • เวเนซุเอลา • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ • อินโดนีเซีย • อิรัก • อิหร่าน • แอลจีเรีย |
ประเทศอิหร่าน เป็นบทความเกี่ยวกับ ประเทศ เมือง หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศอิหร่าน ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |