ประเทศเติร์กเมนิสถาน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||
คำขวัญ: | |||||
เพลงชาติ: Independent, Neutral, Turkmenistan State Anthem | |||||
เมืองหลวง | อาชกาบัต |
||||
เมืองใหญ่สุด | อาชกาบัต | ||||
ภาษาราชการ | ภาษาเติร์กเมน | ||||
รัฐบาล | สาธารณรัฐนำโดยพรรคคอมมิวนิสต์ | ||||
ประธานาธิบดี1 | กูร์บันกูลี เบียร์ดีมูฮัมเมดอฟ (รักษาการ) | ||||
ได้รับเอกราช ประกาศเอกราช เป็นที่ยอมรับ อดีต |
จากสหภาพโซเวียต 27 ตุลาคม พ.ศ. 2534 8 ธันวาคม พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน |
||||
เนื้อที่ - ทั้งหมด - พื้นน้ำ (%) |
488,100 กม.² (อันดับที่ 52) 188,457 ไมล์² 4.9% |
||||
ประชากร - 2549 ประมาณ - ความหนาแน่น |
5,042,920 (อันดับที่ 1122) 10/กม² (อันดับที่ 173) 26/ไมล์² |
||||
GDP (PPP) - รวม - ต่อประชากร |
2548 ค่าประมาณ 29.38 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 94) 5,900 ดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 92) |
||||
HDI (2546) | 0.738 (อันดับที่ 97) – กลาง | ||||
สกุลเงิน | มานัต (TMM ) |
||||
เขตเวลา - ฤดูร้อน (DST) |
(UTC+5) (UTC+6) |
||||
รหัสอินเทอร์เน็ต | .tm | ||||
รหัสโทรศัพท์ | +993 |
||||
1.) นายนียาซอฟดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีและหัวหน้าคณะรัฐมนตรี 2.) อันดับที่ (rank) เป็นข้อมูลปี 2548 |
เติร์กเมนิสถาน (Turkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน
เนื้อหา |
[แก้] ประวัติศาสตร์
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
[แก้] การเมือง
รอการเพิ่มเติมเนื้อหา
[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง
ประเทศเติร์กเมนิสถานแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด (provinces - welayatlar) กับ 1 นครอิสระ (independent city) ได้แก่
เขตการปกครอง | รหัสภูมิศาสตร์ | เมืองหลวง | เนื้อที่ (ตร.กม.) | จำนวนประชากร (2538) | หมายเลข |
---|---|---|---|---|---|
กรุงอาชกาบัต (Ashgabat) | 604,000 | ||||
จังหวัดอะฮัล (Ahal) | TM-A | อาชกาบัต (Ashgabat) | 95,000 | 722,800 | 1 |
จังหวัดบัลคัน (Balkan) | TM-B | บัลคานาบัต (Balkanabat) | 138,000 | 424,700 | 2 |
จังหวัดดัชโฮวุซ (Dashhowuz) | TM-D | ดาโชกุซ (Daşoguz) | 74,000 | 1,059,800 | 3 |
จังหวัดเลบัป (Lebap) | TM-L | เติร์กเมนาบัต (Turkmenabat) | 94,000 | 1,034,700 | 4 |
จังหวัดมารืย (Mary) | TM-M | มารืย (Mary) | 87,000 | 1,146,800 | 5 |
[แก้] ภูมิศาสตร์
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
[แก้] เศรษฐกิจ
- เกษตรกรรม พืชที่สำคัญได้แก่ ฝ้ายและธัญพืช สัตว์เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นปศุสัตว์ ได้แก่ แพะ โค และสัตว์ปีก
- อุตสาหกรรม เศรษฐกิจหลักของเติร์กเมนิสถานอยู่บนพื้นฐานอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ขณะที่อุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก่ สิ่งทอและอาหาร
[แก้] ประชากร
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
[แก้] วัฒนธรรม
- (รอเพิ่มเติมเนื้อหา)
[แก้] ศาสนา
ชาวเติร์กเมนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม 85% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาบาไฮ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ และไสยศาสตร์ 5%
|
||
---|---|---|
ประเทศ | กัมพูชา • กาตาร์ • เกาหลีใต้ • เกาหลีเหนือ • คาซัคสถาน1 • คีร์กีซสถาน • คูเวต • จอร์เจีย1 • จอร์แดน • จีน • ญี่ปุ่น • ซาอุดีอาระเบีย • ซีเรีย • ไซปรัส2 • ติมอร์ตะวันออก3 • ตุรกี1 • เติร์กเมนิสถาน • ทาจิกิสถาน • ไทย • เนปาล • บรูไน • บังกลาเทศ • บาห์เรน • ปากีสถาน • พม่า • ฟิลิปปินส์ • ภูฏาน • มองโกเลีย • มัลดีฟส์ • มาเลเซีย • เยเมน • รัสเซีย1 • ลาว • เลบานอน • เวียดนาม • ศรีลังกา • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ • สิงคโปร์ • อัฟกานิสถาน • อาเซอร์ไบจาน1 • อาร์เมเนีย2 • อินเดีย • อินโดนีเซีย3 • อิรัก • อิสราเอล • อิหร่าน • อียิปต์4 • อุซเบกิสถาน • โอมาน | |
ดินแดน | ฮ่องกง (จีน) • ชัมมูและกัษมีระ (อินเดีย/ปากีสถาน/จีน) • เคอร์ดิสถาน (อิรัก) • มาเก๊า (จีน) • นากอร์โน-คาราบัค1 (อาเซอร์ไบจาน) • ปาเลสไตน์: ฉนวนกาซา • เวสต์แบงก์ (อิสราเอล/รัฐบาลปาเลสไตน์) •ไต้หวัน (จีน/รัฐบาลไต้หวัน) • สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ1 (ไซปรัส) | |
(1) อาจจัดให้อยู่ในทวีปยุโรป; (2) อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองสังคมกับทวีปยุโรป; (3) อาจจัดพื้นที่บางส่วน/ทั้งหมดให้อยู่ในเขตโอเชียเนีย; (4) พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปแอฟริกา |