See also ebooksgratis.com: no banners, no cookies, totally FREE.

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
อีราสมุส - วิกิพีเดีย

อีราสมุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ลิงก์ข้ามภาษาที่แทรกในบทความนี้ ผู้เขียนอาจใส่ไว้เพื่อความสะดวกสำหรับผู้อ่านและผู้ร่วมปรับปรุงแก้ไขบทความ ให้โยงไปถึงบทความที่เกี่ยวข้องในภาษาอื่นเพื่อการตรวจสอบหรืออ่านเพิ่มเติม เนื่องจากคำ หรือวลีนั้นๆ ยังไม่มีคำแปลหรือคำอธิบายที่เหมาะสมในภาษาไทย เมื่อหมดความจำเป็นแล้ว ลิงก์ข้ามภาษาจะถูกตัดออกหรือเปลี่ยนเป็นข้อความที่ไม่มีลิงก์แทน ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานวิกิพีเดียไทย
เดสิเดอริอุส อีราสมุส เมื่อ พ.ศ. 2066 เขียนโดยHans Holbein the Younger
เดสิเดอริอุส อีราสมุส เมื่อ พ.ศ. 2066 เขียนโดยHans Holbein the Younger

เดสิเดอริอุส อีราสมุส รอตเตอโรดามุส (Desiderius Erasmus Roterodamus บางครั้งรู้จักกันในนาม เดสิเดอริอุส อีราสมุส แห่งรอตเตอร์ดาม - 27 ตุลาคม, พ.ศ. 2009 / พ.ศ. 2012 - 12 กรกฎาคม, พ.ศ. 2079) ตรงกับระหว่างรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถกับรัชสมัยของสมเด็จพระไชยราชาธิราช) นักมนุษยนิยม (humanist) และนักเทววิทยา (theologian) ชาวดัตช์ ชื่อในแบบผู้รอบรู้คือ เดสิเดอริอุส อีราสมุส รอตเตอโรดามุส นี้ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ: คำนามในภาษาละติน desiderium ("ปรารถนา" หรือ "ความอยาก" ซึ่งเป็นชื่อละตินใหม่แท้); คำคุณศัพท์ภาษากรีก εράσμιος (erasmios) หมายถึง "การเป็นที่รักใคร่", และเมื่ออยู่ในรูปของ Erasmus, ก็จะเป็นชื่อของ เซนต์อีราสมุส (saint| St. Erasmus|saint); และส่วนที่สามเป็นคุณศัพท์ในภาษาละตินของชื่อเมืองรอตเตอร์ดัม (Roterodamus = "of Rotterdam").

เดสิเดอริอุส อีราสมุส เป็นผู้คงแก่เรียนยุคคลาสสิก เป็นผู้แต่งหนังสือด้วยภาษาละตินแท้และเป็นผู้ชื่นชอบในฉายาที่มีผู้ให้ว่า “เจ้าชายแห่งนักมนุษยนิยม” (Prince of the Humanists) มนุษยนิยมเรนาซองส์ได้รับความสนใจและมีการเรียนรู้กันมากในการศึกษาภาษาโบราณ ด้วยการใช้เทคนิคของมนุษยนิยม อีรามุสได้จัดเตรียมคัมภีร์ไบเบิลใหม่ฉบับภาษาละตินแท้และภาษากรีกซึ่งได้ทำให้เกิดคำถามที่ทรงอิทธิพลต่อมาในรอตเตอร์ดาม อีราสมุสยังได้เขียนหนังสืออีกหลายเล่มได้แก่เรื่อง “การสดุดีคนโง่” ( The Praise of Folly), "คู่มืออัศวินคริสเตียน" ( The Praise of Folly), "ความเป็นพลเมืองของเด็ก” (On Civility in Children), "โคเปีย: พื้นฐานของสไตล์อันล้นเหลือ” ( Copia: Foundations of the Abundant Style) เป็นต้น ความคิดของอีราสมุสปูทางให้แก่การปฏิรูปของมาร์ติน ลูเธอร์ในตอนต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 15 (ประมาณหลัง พ.ศ. 1950)

อีราสมุสมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่ผู้คงแก่เรียนในช่วงนั้นเอาจริงเอาจังกับความเชื่อและการปฏิบัติที่เคร่งครัดในคริสต์ศาสนา การวิพากษ์วิจารณ์ของอีราสมุสจึงไม่ต้องตรงกับอำนาจของพระสันตปาปาและได้ทำให้เกิดระบบเทววิทยาแนวใหม่ขึ้น อีราสมุสถูกจัดไว้ในกลุ่มปฏิรูปที่วิพากษ์วิจารณ์ความเชื่อและแนวปฏิบัติทางศาสนาที่เป็นอยู่ในระยะนั้นอย่างต่อเนื่อง แต่อีราสมุสเองยังคงปฏิบัติศาสนานิกายแคทอลิกอยู่แต่เป็นอย่างปัญญาชนและอยู่ใต้อำนาจพระสันตปาปาตลอดชีวิต การนับถือและปฏิบัติทางแคทอลิกของอีราสมุสเป็นไปในแบบเสรีซึ่งทำให้พวกปฏิรูปโปรเตสแตนท์หลายคนต่อต้านเพราะยังเชื่อในลัทธิเทวลิขิต ( Predestination) มากกว่า ทางสายกลางนี้นอกจากค่อนข้างเป็นที่น่าผิดหวังแล้วยังทำความเดือดดาลให้แก่ผู้นำการปฏิรูป เช่น มาร์ติน ลูเทอร์และผู้จงรักภักดีอย่างแรงกล้าต่อองค์พระสันตปาปาอีกด้วย

เนื้อหา

[แก้] ชีวประวัติโดยสรุป

อีราสมุสเกิดในนครรอตเตอร์ดาม ประเทศเนธอร์แลนด์ หลังจากอาศัยอยู่ที่โบสถ์ออกัสตินแห่งหนึ่งเป็นเวลา 6 ปีก็ได้เป็นเลขานุการส่วนตัวของ บิชอบแห่งแคมบราอิ และบวชเป็นพระเมื่อ พ.ศ. 2035 ต่อมาอีราสมุสจึงได้ย้ายไปอยู่ปารีสมีอาชีพเป็นครูและย้ายไปอยู่ลอนดอนในปี พ.ศ. 2041 โดยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์สาขาศาสนศาสตร์ (Divinity) และกรีกที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และที่นี่เองที่อีราสมุสได้เขียนหนังสือประเภทเสียดสีเรื่อง “การสดุดีคนโง่” (พ.ศ. 2052) นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2057 เป็นต้นมา อีราสมุสย้ายที่อยู่อาศัยไปมาระหว่างเมืองบาเซิลและลอนดอน ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองลูเวียน (ในเบลเยียม พ.ศ. 2060-2064) ในช่วงนี้อีราสมุสได้ผลิตผลงานเขียนที่มีชื่อเสียงอีกหลายเล่ม

ในบั้นปลายชีวิต อีราสมุสได้เขียนหนังสืออีกหลายเล่มและเข้าไปเกี่ยวข้องกับความคิดที่ขัดแย้งทางศาสนาค่อนข้างมาก แต่ก็ได้รับการยกย่องและมีความสุขมากในชีวิตท่ามกลางเพื่อนแท้ทางความคิดที่เป็นฝ่ายโปรเทสแตนท์ อีราสมุสถึงแก่กรรมเมื่ออายุประมาณ 70 ปี ที่เมืองบาเซิล

[แก้] ระยะต้นของชีวิต

[แก้] การบวชและประสบการณ์ในโบสถ์

[แก้] การศึกษาและการได้ทุน

[แก้] งานตีพิมพ์ไบเบิลใหม่ฉบับภาษากรีก

[แก้] อีราสมุส ลูเทอร์และการเริ่มต้นของนิกายโปรเทสแตนท์

Erasmus by Holbein
Erasmus by Holbein

[แก้] พิธีสัตยาธิษฐาน

[แก้] ผลงานเขียน

[แก้] มรดก

อนุสาวรีย์ของอีราสมุสในรอตเตอร์ดาม
อนุสาวรีย์ของอีราสมุสในรอตเตอร์ดาม

[แก้] งานบางชิ้น

[แก้] หมายเหตุ

[แก้] บรรณานุกรมสำคัญ

  • Botley, Paul (2004). Latin Translation in the Renaissance: The Theory and Practice of Leonardo Bruni, Giannozzo Manetti and Desiderius Erasmus, London: Cambridge University Press.
  • Chantraine, Georges (1971). "Philosophie erasmienne et théologie lutérienne." "Mystère" et "Philosphie du Christ" selon Erasme, Brussels : Duculot, pp. 374-376.
  • Dockery, David S. (October 19, 1995). "The Foundation of Reformation Hermeneutics: A Fresh Look at Erasmus," Premise 2, no. 9, pp. 6–ff. (An appreciative look at Erasmus's contribution to biblical hermeneutics [interpretation methods] from an Evangelical Christian perspective.)
  • Erasmus. The Catholic Reformation. Olin, John C., ed. New York: Fordham University, 1992.
  • Gauss, C. (first published 1999). Introduction to 'The Prince' . New York: Signet, p. 11.
  • Hoffmann, Manfred (1994). Rhetoric and Theology: The Hermeneutic of Erasmus, Toronto: University of Toronto Press.
  • Hollis, Christopher (1931). Erasmus, London: Eyre & Spottiswode. (Concentrates on Erasmus' quarrels with Catholic hierarchy.)
  • Huizinga, Johan (1957). Erasmus and the Age of Reformation, New York: Harper Torchbooks. (Huizinga's text was translated from Dutch and first published by Charles Scribner's Sons in 1924. It is considered one of the foundational Erasmus biographies of the twentieth century.)
  • Jardine, Lisa (1993). Erasmus, Man of Letters: The Construction of Charisma in Print, Princeton, N.J.: Princeton University Press, 1993. (Argues that Erasmus was extremely careful and skillful in creating, manipulating and managing his own image.)
  • Mansfield, Bruce E. (1979). Phoenix of His Age: Interpretations of Erasmus C. 1550-1750, Erasmus Studies 4, Toronto and Buffalo: University of Toronto Press. (Traces the reception and interpretations of Erasmus after his death.)
  • Metzger, Bruce (1992). The Text of the New Testament: Its Transmission, Corruption, and Restoration, New York and Oxford: Oxford University Press, 3rd edition: ISBN 0-19-507297-9 – (Discusses the origin of the Textus Receptus.)
  • Payne, John B. (1970). Erasmus: His Theology of the Sacraments, Richmond. Va.: John Knox Press. (This work pays great attention to Erasmus's own writings and analyzes the different aspects of his theology in light of his Catholic and Humanist influences. Payne conducted extensive work on UTP's Collected Works of Erasmus editions.)
  • Phillips, Margaret Mann (1949). Erasmus and the Northern Renaissance, Teach Yourself History Library series, London: Hodder & Stoughton. (An important classic on the topic.)
  • Panofsky, Erwin "Erasmus and the Visual Arts," Journal of the Warburg and Courtauld Institutes, vol. 32 (1969): 200-227. (A well known article about Erasmus and his relationships with Hans Holbein, Albrect Dürer and Quentin Matsys, and Erasmus's view on the visual arts.)
  • Rabil, Albert (1972). Erasmus and the New Testament: The Mind of a Christian Humanist, San Antonio, Tx.: Trinity University Press.
  • Stevens, Forrest Tyler (1994). "Erasmus's 'Tigress': The Language of Friendship, Pleasure and the Renaissance Letter" in Queering the Renaissance, Durham, N.C.: Duke University Press. (An illuminating analysis of the letters to Servatius and Erasmus's De conscribendis epistolis.)
  • Tracy, James D. (1972). Erasmus: The Growth of a Mind, Travaux d'humanisme et renaissance, 126, Geneva: Droz. (One of the standard biographies.)
  • Winters, Adam (2005). Erasmus' Doctrine of Free Will, diss. Jackson, TN: Union University. (Deals specifically with Erasmus' debate against Martin Luther.)
  • Zweig, Stefan (1938). Erasmus of Rotterdam, Triumph und Tragik des Erasmus von Rotterdam, New York: The Viking Press. (Evocative character portrait.)

[แก้] ดูเพิ่ม

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

Commons
คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ:
อีราสมุส

Wikisource has the original Latin text of Praise of Folly.

แม่แบบ:Martin Luther


Persondata
NAME Erasmus, Desiderius
ALTERNATIVE NAMES Erasmus; Erasmus, Desiderius Roterodamus; Gerritszoon, Gerrit
SHORT DESCRIPTION Dutch philosopher and theologian
DATE OF BIRTH October 27, 1466 or 1469
PLACE OF BIRTH Rotterdam, The Netherlands
DATE OF DEATH July 12, 1536
PLACE OF DEATH Basel, Switzerland


aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - en - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu -