อักษรอี้
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรอี้ (Yi Syllabary) ต้นกำเนิดของอักษรอี้ไม่แน่นอน แต่อาจเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลจากอักษรจีน อักษรอี้ที่เก่าที่สุดมีอายุราว พ.ศ. 2100 ใช้ในทางศาสนาและบันทึกลับ เป็นเวลาหลายศตวรรษ ผู้เขียนส่วนใหญ่เพิ่มอักษรใหม่เข้าไปเรื่อยๆ ในระยะหนึ่งอักษรนี้มีสัญลักษณ์ถึง 8,000 ตัว รูปแบบที่จัดมาตรฐานแล้วโดยรัฐบาลเมื่อ พ.ศ. 2518 เริ่มมีการสอนในโรงเรียนเมื่อ พ.ศ. 2519 ประมาณ พ.ศ. 2500 มีการนำอักษรโรมันมาเขียนภาษาอี้ เรียก อักษรอี้ดำ ใช้เฉพาะในหมู่ชาวคริสต์ ชาวยิส่วนใหญ่ยังใช้อักษรอี้
[แก้] ลักษณะ
สัญลักษณ์แต่ละตัวใช้แทนพยางค์ โดยแต่ละตัวมี 3 แบบ แทนเสียงวรรณยุกต์ 3 เสียง มี สัญลักษณ์ 819 ตัว สัญลักษณ์เหล่านี้ใช้กับคำภาษายิ 756 ตัว ใช้สำหรับคำยืมจากภาษาจีนและภาษาอื่น 63 ตัว จัดเป็นอักษรแทนพยางค์ที่ใหญ่ที่สุดก่อนการจัดมาตรฐาน
[แก้] ใช้เขียน
- ภาษาอี้หรือโลโล ซึ่งเป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า สาขาโลโล มีผู้พูด 2 – 5.5 ล้านคน ในยูนนานและเสฉวน ประเทศจีน
[แก้] อ้างอิง
- อักษรยิ (อังกฤษ)
|
||
---|---|---|
ประวัติศาสตร์อักษร | ||
รายชื่อ | แบ่งตามชนิดอักษร • แบ่งตามทิศทางการเขียน | |
อักษรไร้สระ (Abjad) |
ซัลเตอร์ • ซอกเดีย • ซาบาเอียน • ซามาริทัน • ซีเรียค • ทิฟินาค • ดิเวส อกุรุ • นาบาทาเอียน • เบอร์เบอร์โบราณ • เปอร์เซียกลาง • พาร์เทียน • ฟินิเชียน • มันดาอิก • ยาวี • ยูการิติก • อราเมอิก • อาระเบียใต้ • อาหรับ • ฮีบรู • ฮีบรูระยะแรก | |
อักษรสระประกอบ (Abugidas) |
ตระกูลอักษรพราหมี: กทัมพะ • กลิงคะ • กวิ • กันนาดา • กันนาดาโบราณ • ไกถิ •ขอม (ขอมไทย ขอมบาลี) • เขมร • ขโรษฐี • คยาห์ • คุชราต • คุปตะ • คุรมุขี • จาม • ชวา • ชักมา • ซุนดา • ซุนดาโบราณ • โซยอมโบ • ดิเวส อกุรุ • ตกริ • ตักบันวา • เตลุกุ • โตชาเรียน • ทมิฬ • ทิเบต • เทวนาครี • ไทดำ • ไทใต้คง • ไทย • ไทลื้อ • ไทใหญ่ • ไทอาหม • ธรรมลาว • เนปาล • บาตัก • บายบายิน • บาหลี • บูฮิด • เบงกาลี • ปัลลวะ (คฤนถ์) • พม่า • พราหมี • พัก-ปา • ม้ง • มอญ • มณีปูรี • มาลายาลัม • มิถิลักศาร์ • โมดี • รานจารา • เรดยัง • ลนตารา • ลัณฑา • ล้านนา • ลาว • ลิมบู • เลปชา • วารังกสิติ • ศารทา • โสวรัสตระ • สิงหล • สิทธัม • โสรัง สมเป็ง • ไสโลติ นครี • โอริยา • ฮานูโนโอ • อื่นๆ: Boyd's Syllabic Shorthand • กีเอซ • Hebrew cursive • เบรลล์ญี่ปุ่น • เมรอยติก •Pitman Shorthand • พอลลาร์ด เมียว • • ทานา • Thomas Natural Shorthand |
|
อักษรสระ-พยัญชนะ (Alphabets) |
Linear: กรีก • กลาโกลิติก • เกาหลี (ฮันกึล) • โกธิก • คอปติก • จอร์เจีย • ซีริลลิก • โซมาลี • บัสซา • เบยทากุกจู • โบสถ์สลาโวนิกโบราณ • เปอร์มิกโบราณ • ฟราเซอร์ • มองโกเลีย • แมนจู • รูนส์ • ละติน • เวเนติก • สันตาลี • อเวสตัน • อีทรัสคัน ออร์คอน • อาร์เมเนีย • อิตาลีโบราณ • อึนโก • เอลบ์ซาน • โอคัม • ไอริช • ฮังการีโบราณ • ชวเลขอีเคลกติก • ชวเลขกาเบลสแบร์เกอร์ • ชวเลขเกรกก์ • Greco-Iberian alphabet • Mandaic • Neo-Tifinagh • Ol Chiki • Shavian alphabet • ไทลื้อ (ประยุกต์) • Visible Speech • Zhùyīn fúhào • สัทอักษรสากล Non-linear: เบรลล์ • เบรลล์ฮีบรู • เบรลล์เกาหลี • Maritime flags • รหัสมอร์ส • New York Point • Semaphore line • Flag semaphore |
|
อักษรภาพ (Ideograms & Pictograms) |
Blissymbol • DanceWriting • ตงปา • Mi'kmaq • New Epoch Notation Painting • SignWriting | |
อักษรแทนคำ (Logograms) |
พื้นฐานจากอียิปต์: เดโมติก • เฮียราติก • เฮียโรกลิฟฟิก พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอนาโตเลีย (คาเรีย ไลเดีย ไลเซีย ลูเวีย) • รูปลิ่ม(อัคคาเดีย สุเมเรีย อีลาไมต์) • ตงปา • มายา • ตันกัท • อี้ (เดิม) |
|
อักษรกึ่งแทนพยางค์ (Semi-syllabaries) |
Full semi-syllabaries: เซลติเบเรียน • ไอบีเรีย Redundant semi-syllabaries: Southwestern script |
|
อักษรแทนพยางค์ (Syllabaries) |
กเปลเล • คะตะคะนะ • คาโรไลน์ •ไซเปรียท •อักษรนดยุกา • นหวู่ซู • มันโยงะนะ •เมนเด • รูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ • อักษรโลมา •ไลเนียร์บี • ไว • อฟากา • อี้ (ประยุกต์) • ฮิระงะนะ • Woleaian • Yugtun อักษรพื้นเมืองในแคนาดา: อักษรคาร์เรีย • ครี •เชอโรกี •แบล็กฟุต • อินุกติตุต •โอจิบเว |