คะตะคะนะ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คะตะคะนะ (「片仮名」 katakana?) เป็นตัวอักษรสำหรับแทนเสียงในภาษาญี่ปุ่นประเภทหนึ่ง คะตะคะนะถูกนำไปเขียนภาษาไอนุซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยอยู่ทางภาคเหนือของเกาะฮอกไกโด
เนื้อหา |
[แก้] การใช้
คะตะคะนะมีสัญลักษณ์ 48 ตัว ในยุคแรกรู้จักในนาม การเขียนของผู้ชาย คะตะคะนะใช้กับคำยืมที่ไม่ได้มาจากภาษาจีนเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งการเลียนเสียง ชื่อจากภาษาอื่น การเขียนโทรเลข และการเน้นคำ (แบบเดียวกับการใช้อักษรตัวใหญ่ในภาษาอังกฤษ) ก่อนหน้านั้นคำยืมทั้งหมดเขียนด้วยคันจิ ใช้ในหลายกรณี ได้แก่
- ใช้เขียนคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ชื่อชาวต่างประเทศ และชื่อสถานที่ในต่างประเทศซึ่งเป็นวิสามานยนาม เช่น ホテル (โฮะเตะรุ หรือ Hotel)
- ใช้เขียนคำซึ่งเลียนเสียงในธรรมชาติ เช่น ワン ワン (วัง วัง เสียงเห่าของสุนัข)
- ใช้เขียนชื่อญี่ปุ่น (和名) ของสัตว์และแร่ธาตุ เช่น カルシウム (คารุซิอุมุ หรือ แคลเซียม)
- ใช้ในเอกสารใช้ยุคก่อนส่งครามโลกครั้งที่สอง (ใช้ร่วมกับตัวอักษรคันจิ)
- ใช้ในโทรเลข และระบบคอมพิวเตอร์ในช่วงก่อนเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2531 ซึ่งยังไม่มีการใช้ระบบตัวอักษรหลายไบต์ (เช่น ยูนิโคด)
[แก้] ที่มา
ตัวอักษรคะตะคะนะนั้นถูกสร้างขึ้นในยุคเฮอัน (平安時代) โดยนำมาจากส่วนหนึ่งของตัวคันจิพัฒนามาจาก อักษรจีนที่ใช้โดยพระภิกษุเพื่อแสดงการออกเสียงอักษรจีนที่ถูกต้องเมื่อประมาณ พ.ศ. 1400 ในช่วงแรกมีสัญลักษณ์หลายตัวที่แสดงเสียงเดียวกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไป อักษรถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น ราว พ.ศ. 1900 มีสัญลักษณ์ 1 ตัว ต่อ 1 พยางค์เท่านั้น คำว่า คะตะคะนะ หมายถึงอักษรพยางค์ที่เป็นส่วน (ของคันจิ)
[แก้] ตารางตัวอักษรคะตะคะนะ
สระ และ พยัญชนะ | yōon | ||||||
ア อะ | イ อิ | ウ อุ | エ เอะ | オ โอะ | ャ ยะ | ュ ยิ | ョ ยุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|
カ คะ | キ คิ | ク คุ | ケ เคะ | コ โคะ | キャ คิ ยะ | キュ คิ ยุ | キョ คิ โยะ |
サ ซะ | シ ชิ | ス ซุ | セ เซะ | ソ โซะ | シャ ชิ ยะ | シュ ชิ ยุ | ショ ชิ โยะ |
タ ทะ | チ จิ | ツ สึ | テ เทะ | ト โทะ | チャ จิ ยะ | チュ จิ ยุ | チョ จิ โยะ |
ナ นะ | ニ นิ | ヌ นุ | ネ เนะ | ノ โนะ | ニャ นิ ยะ | ニュ นิ ยุ | ニョ นิ โยะ |
ハ ฮะ | ヒ ฮิ | フ ฮุ ฟุ | ヘ เฮะ | ホ โฮะ | ヒャ ฮิ ยะ | ヒュ ฮิ ยุ | ヒョ ฮิ โยะ |
マ มะ | ミ มิ | ム มุ | メ เมะ | モ โมะ | ミャ มิ ยะ | ミュ มิ ยุ | ミョ มิ โยะ |
ヤ ยะ | ユ ยุ | イェ เย อิเยะ | ヨ โยะ | ||||
ラ ระ | リ ริ | ル รุ | レ เระ | ロ โระ | リャ ริ ยะ | リュ ริ ยุ | リョ ริ โยะ |
ワ วะ | (ヰ) ウィวิ อุวิ | (ヱ) ウェ เวะ อุเวะ | (ヲ) ウォ โวะ อุโวะ | ||||
ン n | |||||||
ガ กงะ | ギ กงิ | グ กงุ | ゲ เกงะ | ゴ โกงะ | ギャ กงิ ยะ | ギュ กงิ ยุ | ギョ กงิ โยะ |
ザ ซะ | ジ จิ | ズ ซุ | ゼ เซะ | ゾ โซะ | ジャ จิ ยะ | ジュ จิ ยุ | ジョ จิ โยะ |
ダ ดะ | ヂ (จิ) | ヅ (ซึ ซุ) | デ เดะ | ド โดะ | ヂャ (จิ ยะ) | ヂュ (จิ ยุ) | ヂョ (จิ โยะ) |
バ บะ | ビ บิ | ブ บุ | ベ เบะ | ボ โบะ | ビャ บิ ยะ | ビュ บิ ยุ | ビョ บิ โยะ |
パ ปะ | ピ ปิ | プ ปุ | ペ เปะ | ポ โปะ | ピャ ปิ ยะ | ピュ ปิ ยุ | ピョ ปิ โยะ |
(ヷ) ヴァ va | (ヸ) ヴィ vi | ヴ vu | (ヹ) ヴェ ve | (ヺ) ヴォ vo | ヴャ vya | ヴュ vyu | ヴョ vyo |
シェ ชิเย เช | |||||||
ジェ จิเย เจ | |||||||
チェ จิเย เจ | |||||||
ティ ที | トゥ ทู | テュ ทยู | |||||
ディ ดี | ドゥ ดู | デュ ดยู | |||||
ツァ สุอา | ツィ สุอี | ツェ สุเอ | ツォ สุโอว | ||||
ファ ฮุอา ฟา | フィ ฮุอิ ฟี | フェ ฮุเอ เฟ | フォ ฮุโอ โฟ | フュ ฟู |
[แก้] อ้างอิง
- คะตะคะนะ (อังกฤษ)
|
||
---|---|---|
ประวัติศาสตร์อักษร | ||
รายชื่อ | แบ่งตามชนิดอักษร • แบ่งตามทิศทางการเขียน | |
อักษรไร้สระ (Abjad) |
ซัลเตอร์ • ซอกเดีย • ซาบาเอียน • ซามาริทัน • ซีเรียค • ทิฟินาค • ดิเวส อกุรุ • นาบาทาเอียน • เบอร์เบอร์โบราณ • เปอร์เซียกลาง • พาร์เทียน • ฟินิเชียน • มันดาอิก • ยาวี • ยูการิติก • อราเมอิก • อาระเบียใต้ • อาหรับ • ฮีบรู • ฮีบรูระยะแรก | |
อักษรสระประกอบ (Abugidas) |
ตระกูลอักษรพราหมี: กทัมพะ • กลิงคะ • กวิ • กันนาดา • กันนาดาโบราณ • ไกถิ •ขอม (ขอมไทย ขอมบาลี) • เขมร • ขโรษฐี • คยาห์ • คุชราต • คุปตะ • คุรมุขี • จาม • ชวา • ชักมา • ซุนดา • ซุนดาโบราณ • โซยอมโบ • ดิเวส อกุรุ • ตกริ • ตักบันวา • เตลุกุ • โตชาเรียน • ทมิฬ • ทิเบต • เทวนาครี • ไทดำ • ไทใต้คง • ไทย • ไทลื้อ • ไทใหญ่ • ไทอาหม • ธรรมลาว • เนปาล • บาตัก • บายบายิน • บาหลี • บูฮิด • เบงกาลี • ปัลลวะ (คฤนถ์) • พม่า • พราหมี • พัก-ปา • ม้ง • มอญ • มณีปูรี • มาลายาลัม • มิถิลักศาร์ • โมดี • รานจารา • เรดยัง • ลนตารา • ลัณฑา • ล้านนา • ลาว • ลิมบู • เลปชา • วารังกสิติ • ศารทา • โสวรัสตระ • สิงหล • สิทธัม • โสรัง สมเป็ง • ไสโลติ นครี • โอริยา • ฮานูโนโอ • อื่นๆ: Boyd's Syllabic Shorthand • กีเอซ • Hebrew cursive • เบรลล์ญี่ปุ่น • เมรอยติก •Pitman Shorthand • พอลลาร์ด เมียว • • ทานา • Thomas Natural Shorthand |
|
อักษรสระ-พยัญชนะ (Alphabets) |
Linear: กรีก • กลาโกลิติก • เกาหลี (ฮันกึล) • โกธิก • คอปติก • จอร์เจีย • ซีริลลิก • โซมาลี • บัสซา • เบยทากุกจู • โบสถ์สลาโวนิกโบราณ • เปอร์มิกโบราณ • ฟราเซอร์ • มองโกเลีย • แมนจู • รูนส์ • ละติน • เวเนติก • สันตาลี • อเวสตัน • อีทรัสคัน ออร์คอน • อาร์เมเนีย • อิตาลีโบราณ • อึนโก • เอลบ์ซาน • โอคัม • ไอริช • ฮังการีโบราณ • ชวเลขอีเคลกติก • ชวเลขกาเบลสแบร์เกอร์ • ชวเลขเกรกก์ • Greco-Iberian alphabet • Mandaic • Neo-Tifinagh • Ol Chiki • Shavian alphabet • ไทลื้อ (ประยุกต์) • Visible Speech • Zhùyīn fúhào • สัทอักษรสากล Non-linear: เบรลล์ • เบรลล์ฮีบรู • เบรลล์เกาหลี • Maritime flags • รหัสมอร์ส • New York Point • Semaphore line • Flag semaphore |
|
อักษรภาพ (Ideograms & Pictograms) |
Blissymbol • DanceWriting • ตงปา • Mi'kmaq • New Epoch Notation Painting • SignWriting | |
อักษรแทนคำ (Logograms) |
พื้นฐานจากอียิปต์: เดโมติก • เฮียราติก • เฮียโรกลิฟฟิก พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอนาโตเลีย (คาเรีย ไลเดีย ไลเซีย ลูเวีย) • รูปลิ่ม(อัคคาเดีย สุเมเรีย อีลาไมต์) • ตงปา • มายา • ตันกัท • อี้ (เดิม) |
|
อักษรกึ่งแทนพยางค์ (Semi-syllabaries) |
Full semi-syllabaries: เซลติเบเรียน • ไอบีเรีย Redundant semi-syllabaries: Southwestern script |
|
อักษรแทนพยางค์ (Syllabaries) |
กเปลเล • คะตะคะนะ • คาโรไลน์ •ไซเปรียท •อักษรนดยุกา • นหวู่ซู • มันโยงะนะ •เมนเด • รูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ • อักษรโลมา •ไลเนียร์บี • ไว • อฟากา • อี้ (ประยุกต์) • ฮิระงะนะ • Woleaian • Yugtun อักษรพื้นเมืองในแคนาดา: อักษรคาร์เรีย • ครี •เชอโรกี •แบล็กฟุต • อินุกติตุต •โอจิบเว |