เนลสัน มันเดลา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนลสัน โรลิห์ลาห์ลา มันเดลลา (Nelson Mandela เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้คนแรก ที่ได้รับเลือกตั้งตามกระบวนการทางประชาธิปไตย ก่อนหน้านี้เป็นนักเคลื่อนไหวตัวยงเพื่อต่อต้านนโยบายแยกคนต่างผิวออกจากกันในแอฟริกาใต้ จากที่แรกเริ่มเป็นผู้เคลื่อนไหวในทางสันติ ได้กลายมาเป็นผู้นำกลุ่มกองกำลังติดอาวุธ และได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่อต้านใต้ตินโดยใช้อาวุธ เช่นการก่อวินาศกรรม ในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้นำต่างชาติที่นิยมนโยบายแยกคนต่างผิวออกจากกันในแอฟริกาใต้ เช่นมากาเรท เท็ตเชอร์ และโรนัลด์ เรแกน ได้ประนามกิจกรรมเหล่านี้ว่าเป็นการก่อการร้าย และนอกประเทศแอฟริกาใต้ เนลสันเป็นที่รู้จักในฐานะนักต่อต้านนโยบายแยกคนต่างผิวออกจากกัน เขาถูกจำคุกเป็นเวลาทั้งสิ้น 27 ปี ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นการถูกคุมขังในห้องขังเล็กๆบนเกาะโรบเบน การถูกคุมขังนี้ได้กลายมาเป็นกรณีตัวอย่างของความอยุติธรรมของนโยบายแยกคนต่างผิวที่ถูกกล่าวถึงไปทั่ว เมื่อเขาได้รับการปล่อยตัวในปีพ.ศ. 2537 นโยบายประสานไมตรีที่เนลสันได้นำมาใช้ทำให้แอฟริกาใต้ก้าวเข้าสู่ยุคใหม่แห่งประชาธิปไตย ซึ่งนับเป็นความสำเร็จครั้งใหญ่ ที่ชาวแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่เชื่อว่า ไม่อาจเกิดขึ้นได้หากไม่ได้อิทธิพลจากเนลสัน ขณะนี้ เนลสันมีอายุกว่า 90 ปีแล้ว แต่ก็ยังมีบุคคลทางการเมืองบางคนยังยกย่องเขาในฐานะรัฐบุรุษอาวุโส
มาดิบา เป็นชื่อใช้ขนานนามสมาชิกชายอาวุโสของตระกูลแมนเดลลาอย่างให้เกียรติ อย่างไรก็ดี ในแอฟริกาใต้ ชื่อนี้จะหมายถึงเนลสัน แมนเดลลา
เนื้อหา |
[แก้] ช่วงแรกของชีวิต
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] กิจกรรมทางการเมือง
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] การถูกจับกุมและถูกคุมขัง
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] ดำรงตำแหน่งประธานพรรค ANC และประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] การสมรส
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] เกษียณ
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] รางวัลแห่งเกียรติยศ
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] อื่นๆ
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] คำคมจากห้องพิจารณาคดีในศาล
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
[แก้] หนังสืออ่านเพิ่มเติม
- Anthony Sampson; Mandela: the authorized biography; ISBN 0-6797-8178-1 (1999)
- Nelson Mandela; Long Walk to Freedom: The Autobiography of Nelson Mandela; Little Brown & Co; ISBN 0-3165-4818-9 (paperback, 1995)
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- Gallery of Mandela pictures, including some rare ones form his early days
- ANC profile of Mandela
- Mandela, Nelson Rolihlahla
- Time 100 profile
- Nelson Mandela Defiant At Rivonia Trial
- Nelson Mandela Foundation - 46664
- Big Picture TV Free video clip of Nelson Mandela
สมัยก่อนหน้า: บิล คลินตัน |
บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ (สมัยที่ {{{สมัยที่}}}) ค.ศ. 1983 ร่วมกับ เฟรเดอริก เดอ เคลิร์ก, ยัสเซอร์ อาราฟัต และ ยิตซัค ราบิน |
สมัยถัดไป: สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 |
|
|
---|---|
พ.ศ.2444-2468 (ค.ศ.1901-1925) |
อังรี ดูนังต์ / ปาสซี (1901) • ดูกอมมูน / โกบัต (1902) • เครเมอร์ (1903) • สถาบันกฎหมายนานาชาติ (IDI) (1904) • ซุทเนอร์ (1905) • รูสเวลต์ (1906) • โมเนตา / เรอโนล์ (1907) • อาร์โนลสัน / บาเยอร์ (1908) • เบอร์แนร์ / เดตูร์เนล เดอ กองสตอง (1909) • International Peace Bureau (IPB) (1910) • แอสเซอร์ / ไฟรด์ (1911) • รูต (1912) • ลา ฟองแตง (1913) • กาชาดสากล (ICRC) (1917) • วิลสัน (1919) • บูร์เกอัว (1920) • แบรนติง / แลงจ์ (1921) • นันเซน (1922) • แชมเบอร์เลน / ดอวส์ (1925) |
พ.ศ.2469-2493 (ค.ศ.1926-1950) |
ไบรอันด์ / สเตรสมันน์ (1926) • บุยซอง / ควิดด์ (1927) • เคลล็อก (1929) • โซเดอร์บลอม (1930) • อัดดัมส์ / บัตเลอร์ (1931) • อังเจลล์ (1933) • เฮนเดอร์สัน (1934) • ออสซิเอ็ดซกี (1935) • ลามัส (1936) • เซซิล (1937) • Nansen Office (1938) • กาชาดสากล (ICRC) (1944) • ฮุล (1945) • บัลช์ / มอตต์ (1946) • (Quaker Peace and Social Witness) QPSW / American Friends Service Committee (AFSC) (1947) • มหาตมะ คานธี * (1948) • บอยด์ ออร์ (1949) • บุนเช (1950) - * (ในปี 1948 มหาตมะ คานธี ได้รับคัดเลือก แต่ถูกลอบสังหารก่อนจะได้รับรางวัล) |
พ.ศ.2494-2518 (ค.ศ.1951-1975) |
ชูโอ (1951) • ชไวท์เซอร์ (1952) • มาร์แชลล์ (1953) • ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) (1954) • เพียร์สัน (1957) • ปิเร (1958) • เบเคอร์ (1959) • ลูตูลิ (1960) • ฮัมมาโชลด์ (1961) • พอลลิง (1962) • กาชาดสากล (1963) • ลูเทอร์ คิง (1964) • กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) (1965) • กาแซง (1968) • International Labour Organization (ILO) (1969) • บอร์ลอก (1970) • แบรนด์ (1971) • คิสซิงเจอร์ / เล ดึค โท (1973) • แมกไบรด์ / ซะโตะ (1974) • ซาคารอฟ (1975) |
พ.ศ.2519-2543 (ค.ศ.1976-2000) |
วิลเลียมส์ / คอร์ริแกน (1976) • องค์การนิรโทษกรรมสากล (AI) (1977) • ซาดัต / เบกิน (1978) • แม่ชีเทเรซา (1979) • เอสกุยเวล (1980) • ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) (1981) • ไมร์ดาล / การ์เซีย โรเบลส (1982) • วาเลซา (1983) • ตูตู (1984) • International Physicians for the Prevention of Nuclear War (IPPNW) (1985) • วีเซล (1986) • อริอัส (1987) • กองกำลังรักษาสันติภาพ (1988) • ทะไลลามะ (1989) • กอร์บาชอฟ (1990) • ซูจี (1991) • เมนชู (1992) • มันเดลา / เดอ เคลิร์ก (1993) • อาราฟัต / เปเรส / ราบิน (1994) • Pugwash Conferences / รอตแบลต (1995) • เบโล / ออร์ตา (1996) • กลุ่มรณรงค์ต่อต้านการใช้กับระเบิดสากล (ICBL) / วิลเลียมส์ (1997) • ฮูม / ทริมเบิล (1998) • องค์การแพทย์ไร้พรมแดน (MSF) (1999) • คิมแดจุง (2000) |
พ.ศ.2544-2568 (ค.ศ.2001-ปัจจุบัน) |
สหประชาชาติ (UN) / อันนัน (2001) • คาร์เตอร์ (2002) • เอบาดี (2003) • มาไท (2004) • สำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) / เอลบาราดาย (2005) • ยูนูส / ธนาคารกรามีน (2006) • อัล กอร์ / คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ (IPCC) (2550) |
เนลสัน มันเดลา เป็นบทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ เนลสัน มันเดลา ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |