ประเทศอาร์เมเนีย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||
คำขวัญ: อาร์เมเนีย: Մեկ Ազգ , Մեկ Մշակույթ (Mek Azg, Mek Mshakouyt: หนึ่งชาติ หนึ่งวัฒนธรรม) |
|||||
เพลงชาติ: Mer Hayrenik Mer Hayrenik (ปิตุภูมิของเรา) |
|||||
![]() |
|||||
เมืองหลวง | เยเรวาน |
||||
เมืองใหญ่สุด | เยเรวาน | ||||
ภาษาราชการ | ภาษาอาร์เมเนีย | ||||
รัฐบาล | สาธารณรัฐ | ||||
ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี |
โรเบิร์ต โคชาเรียน อันดรานิค มาร์คาเรียน |
||||
เอกราช ประกาศเอกราช สถาปนา |
จากสหภาพโซเวียต 23 สิงหาคม พ.ศ. 2533 21 กันยายน พ.ศ. 2534 |
||||
เนื้อที่ - ทั้งหมด - พื้นน้ำ (%) |
29,800 กม.² (อันดับที่ 139 1) 11,506 ไมล์² 4.7 |
||||
ประชากร - 2549 ประมาณ - 2532 - ความหนาแน่น |
2,976,372 (อันดับที่ 133) 3,288,000 100/กม² (อันดับที่ 74) 259/ไมล์² |
||||
GDP (PPP) - รวม - ต่อประชากร |
2548 ค่าประมาณ 13.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 118) 4,600 ดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 119) |
||||
HDI (2003) | 0.759 (อันดับที่ 83) – กลาง | ||||
สกุลเงิน | แดรม (AMD ) |
||||
เขตเวลา - ฤดูร้อน (DST) |
UTC (UTC+4) เวลาออมแสง (UTC+5) |
||||
รหัสอินเทอร์เน็ต | .am | ||||
รหัสโทรศัพท์ | +374 |
||||
1: ไม่รวมนากอร์โน-คาราบัค |
อาร์เมเนีย (อาร์เมเนีย: Hayastan, Hayq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์เมเนีย (Republic of Armenia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส (Transcaucasus) มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์เมเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช
เนื้อหา |
[แก้] ประวัติศาสตร์
![]() |
[แก้] การเมือง
ระบบการเมืองของอาร์เมเนียเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
สถาบันทางการเมือง
- ฝ่ายนิติบัญญัติ
- เป็นระบบสภาเดียว คือ สภาแห่งชาติ มีการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาทุก ๆ 4 ปี มี 131 ที่นั่ง โดยแบ่งเป็นแบบเขตเดียวคนเดียว (one-mandate electoral districts) จำนวน 75 ที่นั่ง และแบบบัญชีรายชื่อ (party lists) จำนวน 56 ที่นั่ง
- ฝ่ายบริหาร
- ประธานาธิบดี เป็นประมุข อยู่ในตำแหน่งวาระละ 5 ปี ประธานาธิบดีคนเดียวกันจะดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระ มีอำนาจในการบริหารประเทศและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจำนวน 25 คน ตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ
- นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งประธานาธิบดีจะเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา และนายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้เสนอชื่อคณะรัฐมนตรีต่อประธานาธิบดี โดยคณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรี 25 คน (21 กระทรวง)
- ฝ่ายตุลาการ
- ศาลฎีกา (9 คน) ศาลรัฐธรรมนูญ (9 คน)
[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง
อาร์เมเนียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 จังหวัด (provinces - marzer) ได้แก่
- จังหวัดอารากัตซอตน์ (Aragatsotn)
- จังหวัดอารารัต (Ararat)
- จังหวัดอาร์มาวีร์ (Armavir)
- จังหวัดเกการ์คูนิค (Gegharkunik)
- จังหวัดโคไตค์ (Kotayk)
- จังหวัดโลรี (Lori)
- จังหวัดชีรัค (Shirak)
- จังหวัดซูย์นิค (Syunik)
- จังหวัดตาวุช (Tavush)
- จังหวัดวายอตส์ซอร์ (Vayots Dzor)
- จังหวัดเยเรวาน (Yerevan)
[แก้] ภูมิศาสตร์
ประเทศอาร์เมเนียเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัสและอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลแคสเปียน โดยทางเหนือติดกับประเทศจอร์เจียและอาร์เซอร์ไบจาน ทางใต้ติดกับประเทศอิหร่านและตุรกี
[แก้] เศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเพชรเจียรระไน อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร อาหารสำเร็จรูป
ทรัพยากรธรรมชาติ ทองแดง อะลูมิเนียม
ตลาดนำเข้าที่สำคัญ รัสเซีย เบลเยี่ยม สหรัฐฯ อิสราเอล อิหร่าน
ตลาดส่งออกที่สำคัญ เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร อิสราเอล รัสเซีย อิหร่าน
สินค้านำเข้าที่สำคัญ ก๊าซธรรมชาติ ยาสูบ อาหาร เพชร ปิโตรเลียม
สินค้าออกที่สำคัญ เพชร แร่ธาตุ อาหาร พลังงาน (2547)
[แก้] ประชากร
3.8 ล้านคน (กรกฎาคม 2544)
[แก้] วัฒนธรรม
![]() |
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
|
||
---|---|---|
ประเทศ | กัมพูชา • กาตาร์ • เกาหลีใต้ • เกาหลีเหนือ • คาซัคสถาน1 • คีร์กีซสถาน • คูเวต • จอร์เจีย1 • จอร์แดน • จีน • ญี่ปุ่น • ซาอุดีอาระเบีย • ซีเรีย • ไซปรัส2 • ติมอร์ตะวันออก3 • ตุรกี1 • เติร์กเมนิสถาน • ทาจิกิสถาน • ไทย • เนปาล • บรูไน • บังกลาเทศ • บาห์เรน • ปากีสถาน • พม่า • ฟิลิปปินส์ • ภูฏาน • มองโกเลีย • มัลดีฟส์ • มาเลเซีย • เยเมน • รัสเซีย1 • ลาว • เลบานอน • เวียดนาม • ศรีลังกา • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ • สิงคโปร์ • อัฟกานิสถาน • อาเซอร์ไบจาน1 • อาร์เมเนีย2 • อินเดีย • อินโดนีเซีย3 • อิรัก • อิสราเอล • อิหร่าน • อียิปต์4 • อุซเบกิสถาน • โอมาน | |
ดินแดน | ฮ่องกง (จีน) • ชัมมูและกัษมีระ (อินเดีย/ปากีสถาน/จีน) • เคอร์ดิสถาน (อิรัก) • มาเก๊า (จีน) • นากอร์โน-คาราบัค1 (อาเซอร์ไบจาน) • ปาเลสไตน์: ฉนวนกาซา • เวสต์แบงก์ (อิสราเอล/รัฐบาลปาเลสไตน์) •ไต้หวัน (จีน/รัฐบาลไต้หวัน) • สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ1 (ไซปรัส) | |
(1) อาจจัดให้อยู่ในทวีปยุโรป; (2) อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองสังคมกับทวีปยุโรป; (3) อาจจัดพื้นที่บางส่วน/ทั้งหมดให้อยู่ในเขตโอเชียเนีย; (4) พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปแอฟริกา |
|
|
---|---|
กรีซ · คอซอวอ · โครเอเชีย · จอร์เจีย1 · สาธารณรัฐเช็ก · ซานมารีโน · เซอร์เบีย · ไซปรัส1 · เดนมาร์ก · ตุรกี2 · นอร์เวย์ · เนเธอร์แลนด์ · บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา · บัลแกเรีย · เบลเยียม · เบลารุส · โปรตุเกส · โปแลนด์ · ฝรั่งเศส · ฟินแลนด์ · มอนเตเนโกร · มอลโดวา · มอลตา · มาซิโดเนีย · โมนาโก · ยูเครน · เยอรมนี · รัสเซีย2 · โรมาเนีย · ลักเซมเบิร์ก · ลัตเวีย · ลิกเตนสไตน์ · ลิทัวเนีย · นครรัฐวาติกัน · สเปน · สโลวาเกีย · สโลวีเนีย · สวิตเซอร์แลนด์ · สวีเดน · สหราชอาณาจักร · ออสเตรีย · อันดอร์รา · อาเซอร์ไบจาน1 · อาร์เมเนีย1 · อิตาลี · เอสโตเนีย · แอลเบเนีย · ไอซ์แลนด์ · ไอร์แลนด์ · ฮังการี | ![]() |
1. ทางภูมิศาสตร์อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มักถูกจัดอยู่ในทวีปยุโรป เนื่องจากมีวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน; 2. มีพื้นที่ทั้งในทวีปยุโรปและในทวีปเอเชีย |
![]() ![]() |
ประเทศอาร์เมเนีย เป็นบทความเกี่ยวกับ ประเทศ เมือง หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศอาร์เมเนีย ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |