รายชื่อประเทศตามระบบรัฐบาล
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รายชื่อประเทศตามระบบรัฐบาล รวบรวมและแบ่งแยกประเทศตามระบบการดำเนินงานของรัฐบาล โดยประเทศ นั้นหมายถึงรัฐปกครองตนเองที่มีเอกราชเป็นของตนเอง และมีรัฐบาลปกครองประชากรจำนวนหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศ
เนื้อหา |
[แก้] ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย
ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ ระบบการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง มี 3ลักษณะ คือ
[แก้] ประชาธิบไตยแบบรัฐสภา
นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและสภานิติบัญญัติ อาจมีประธานาธิบดีที่ถูกเลือกตั้งเป็นประมุขของประเทศเพียงแต่ในนาม รัฐสภา(ฝ่ายนิติบัญญัติ) กับคณะรัฐมนตรี(ฝ่ายบริหาร) จะมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
- ประเทศอันดอร์รา
- อารูบา
- ประเทศบังกลาเทศ
- ประเทศบาร์เบโดส
- ประเทศเบลเยียม
- ประเทศเบลีซ
- ประเทศบัลแกเรีย
- ประเทศเช็ก
- ประเทศโดมินิกา
- ประเทศกรีนแลนด์
- ประเทศเกรเนดา
- เกิร์นซีย์
- ประเทศฮังการี
- ประเทศอิรัก
- ประเทศไอร์แลนด์
- ประเทศอิสราเอล
- เจอร์ซีย์
- ประเทศลัตเวีย
- ประเทศลิธัวเนีย
- ประเทศมาซีโดเนีย
- เกาะแมน
- ประเทศมอริเชียส
- ประเทศเนปาล
- ประเทศนิวซีแลนด์
- ประเทศโปรตุเกส
- ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส
- ประเทศเซนต์ลูเซีย
- ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
- ประเทศสโลวาเกีย
- หมู่เกาะโซโลมอน
- ประเทศตรินิแดดและโตเบโก
- ประเทศตุรกี
- ประเทศซิมบับเว
[แก้] ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี
ในการปกครองระบบประชาธิไตยแบบนี้ ฝ่ายนิติบัญญัติ(รัฐสภา) ฝ่ายบริหาร(ประธานาธิบดี) และฝ่ายตุลาการ(ศาล)แยกอำนาจออกจากกัน
[แก้] ประชาธิปไตยแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา
ระบบกึ่งประธานาธิบดีมีทั้งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทั้งสามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้
[แก้] ระบบการเมืองแบบเผด็จการ
ระบบการเมืองแบบเผด็จการ คือ ระบบการเมืองการปกครองที่คณะผู้ปกครองใช้อำนาจเหนือประชาชนโดยไม่ยอมรับเสรีภาพหรือความเสมอภาคของประชาชน ระบบเผด็จการมีอยู่ 2 ประเภท ดังนี้
[แก้] ระบบการปกครองเผด็จการที่ผู้ปกครองมีอำนาจสูงสุดเพียงคนเดียว
[แก้] สมบูรณาญาสิทธิราชย์
ในระบบนี้ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจสมบูรณ์และทรงสืบทอดอำนาจผ่านทางราชวงศ์
- ประเทศภูฏาน
- ประเทศโอมาน
- ประเทศกาตาร์
- ประเทศซาอุดิอาระเบีย
- ประเทศสวาซิแลนด์
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- นครรัฐวาติกัน
[แก้] ระบบการปกครองเผด็จการโดยกลุ่มคน
[แก้] คณาธิปไตย
กลุ่มผู้ปกครองในระบบนี้จะปกครองประเทศเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มตน โดยผู้ปกครองสามารถเป็นบุคคลสามัญได้
[แก้] ระบบเผด็จการแบบคอมมิวนิสต์
ระบบเผด็จการแบบนี้เป็นการปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลเพียงพรรคเดียว รัฐบาลจะกำหนดนโยบายทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
[แก้] อื่นๆ
[แก้] สาธารณรัฐอิสลาม
[แก้] สาธารณรัฐ
- ประเทศแอลจีเรีย
- ประเทศอาร์เจนตินา
- ประเทศอาร์เมเนีย
- ประเทศอาเซอร์ไบจาน
- ประเทศเบนิน
- ประเทศโบลิเวีย
- ประเทศบุรุนดี
- ประเทศแคเมอรูน
- ประเทศเคปเวิร์ด
- ประเทศแอฟริกากลาง
- ประเทศชาด
- ประเทศชิลี
- ประเทศโคลัมเบีย
- ประเทศคอโมโรส
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
- ประเทศคองโก
- ประเทศไซปรัส
- ประเทศโกตดิวัวร์
- ประเทศจิบูตี
- ประเทศติมอร์ตะวันออก
- ประเทศเอกวาดอร์
- ประเทศอียิปต์
- ประเทศเอลซัลวาดอร์
- ประเทศอิเควทอเรียลกินี
- ประเทศฟิจิ
- ประเทศฟินแลนด์
- ประเทศฝรั่งเศส
- ประเทศกาบอง
- ประเทศแกมเบีย
- ประเทศจอร์เจีย
- ประเทศกินี
- ประเทศกินี-บิสเซา
- ประเทศกายอานา
- ประเทศเฮติ
- ประเทศอินโดนีเซีย
- ประเทศอิตาลี
- ประเทศเคนยา
- ประเทศคิริบาส
- ประเทศเกาหลีใต้
- ประเทศคีร์กีซสถาน
- ประเทศเลบานอน
- ประเทศไลบีเรีย
- ประเทศมาดากัสการ์
- ประเทศมัลดีฟส์
- ประเทศมาลี
- ประเทศมอลตา
- ประเทศมอริเตเนีย
- ประเทศมอลโดวา
- ประเทศโมซัมบิก
- ประเทศนามิเบีย
- ประเทศนาอูรู
- ประเทศนิการากัว
- ประเทศไนเจอร์
- ประเทศฟิลิปปินส์
- ประเทศโปแลนด์
- ประเทศโรมาเนีย
- ประเทศซานมารีโน
- ประเทศเซเนกัล
- ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
- ประเทศเซเชลส์
- ประเทศแอฟริกาใต้
- ประเทศศรีลังกา
- ประเทศซีเรีย
- ประเทศเซาตูเมและปรินซิปี
- ประเทศทาจิกิสถาน
- ประเทศแทนซาเนีย
- ประเทศโตโก
- ประเทศตูนิเซีย
- ประเทศเติร์กเมนิสถาน
- ประเทศยูกันดา
- ประเทศยูเครน
- ประเทศเยเมน
- ประเทศแซมเบีย
[แก้] ราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ
[แก้] ราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ
ระบบนี้เป็นระบบที่นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและสภานิติบัญญัติ ประมุขของรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญผู้ทรงใช้พระราชอำนาจตามความเห็นชอบของรัฐบาล ประชาชน หรือตัวแทนของประชาชน
- ประเทศอันดอร์รา
- ประเทศบาห์เรน
- ประเทศเบลเยียม
- ประเทศบรูไน
- ประเทศกัมพูชา
- ประเทศเดนมาร์ก
- ประเทศญี่ปุ่น
- ประเทศคูเวต
- ประเทศเลโซโท
- ประเทศลิกเตนสไตน์
- ประเทศลักเซมเบิร์ก
- ประเทศมาเลเซีย
- ประเทศโมร็อกโก
- ประเทศเนเธอร์แลนด์
- ประเทศนอร์เวย์
- ประเทศซามัว
- ประเทศสเปน
- ประเทศสวีเดน
- ประเทศไทย
- ประเทศตองกา
[แก้] เครือจักรภพอังกฤษ
สมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงเป็นประมุขของแต่ละประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ และทรงมีพระนามต่างๆกันไป เช่น"พระราชินีแห่งออสเตรเลีย" เป็นต้น พระราชินีทรงแต่งตั้งผู้แทนพระองค์ไปปกครองในแต่ละประเทศนอกจากในสหราชอาณาจักร โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหารและสภานิติบัญญัติ
- ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา
- ประเทศออสเตรเลีย
- ประเทศบาฮามาส
- ประเทศบังกลาเทศ
- ประเทศบาร์เบโดส
- ประเทศเบลีซ
- ประเทศบอตสวานา
- ประเทศบรูไน
- ประเทศแคเมอรูน
- ประเทศแคนาดา
- ประเทศไซปรัส
- ประเทศโดมินิกา
- ประเทศแกมเบีย
- ประเทศกานา
- ประเทศเกรเนดา
- ประเทศกายอานา
- ประเทศอินเดีย
- ประเทศจาไมกา
- ประเทศเคนยา
- ประเทศคิริบาส
- ประเทศเลโซโท
- ประเทศมาลาวี
- ประเทศมาเลเซีย
- ประเทศมัลดีฟส์
- ประเทศมอลตา
- ประเทศมอริเชียส
- ประเทศโมซัมบิก
- ประเทศนามิเบีย
- ประเทศนาอูรู
- ประเทศนิวซีแลนด์
- ประเทศไนจีเรีย
- ประเทศปากีสถาน
- ประเทศปาปัวนิวกินี
- ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส
- ประเทศเซนต์ลูเซีย
- ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
- ประเทศซามัว
- ประเทศเซเชลส์
- ประเทศเซียร์ราลีโอน
- ประเทศสิงคโปร์
- หมู่เกาะโซโลมอน
- ประเทศแอฟริกาใต้
- ประเทศศรีลังกา
- ประเทศสวาซิแลนด์
- ประเทศตองกา
- ประเทศตรินิแดดและโตเบโก
- ประเทศตูวาลู
- ประเทศยูกันดา
- สหราชอาณาจักร
- ประเทศแทนซาเนีย
- ประเทศวานูอาตู
- ประเทศแซมเบีย
[แก้] ระบบกึ่งราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ
นายกรัฐมนตรี(หรือตำแน่งที่เท่าเทียมกัน) เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของประเทศ แต่พระมหากษัตริย์ยังทรงสามารถใช้พระราชอำนาจทางการเมืองของพระองค์เองได้พอสมควร
[แก้] ระบบยึดถือพระเจ้าหรือเทพเจ้าเป็นหลัก
ระบบนี้ไม่มีประชาธิปไตย แต่มีการปกครองประเทศในรูปแบบของรัฐศาสนา โดยที่ประมุขของรัฐจะถูกเลือกผ่านทางระบบศักดินา
[แก้] กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลง
ประเทศเหล่านีมีการเปลี่ยนแปลงระบบรัฐบาลและยังไม่สามารถถูกจำแนกอย่างชัดเจนได้
- ประเทศโซมาเลีย (กำลังมุ่งหน้าสู่ประชาธิปไตยระบบกึ่งประธานาธิบดี)
- ประเทศซูดาน
- ประเทศปาเลสไตน์ (กำลังมุ่งหน้าสู่ประชาธิปไตยระบบกึ่งประธานาธิบดี)
- ประเทศไทย (กำลังมุ่งหน้าสู่ระบบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญ)
- ประเทศเนปาล (กำลังมุ่งหน้าสู่ระบบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญหรือประชาธิปไตยระบบรัฐสภา)
- ประเทศอิรัก(กำลังมุ่งหน้าสู่ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา)
- ประเทศเอริเทรีย
[แก้] อ้างอิง
- วิทยา ปานะบุตร. ความรู้รอบตัว. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. ISBN 974-523-697-7
- CIA
- กระทรวงการต่างประเทศ
- รายชื่อประเทศตามระบบรัฐบาล
- กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ,โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส 41102 หน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรมการดำเนินชีวิต.
[แก้] ดูเพิ่ม
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
รายชื่อประเทศตามระบบรัฐบาล เป็นบทความเกี่ยวกับ ประเทศ เมือง หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ รายชื่อประเทศตามระบบรัฐบาล ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |