ปาเลสไตน์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||
คำขวัญ: ไม่มี | |||||
เพลงชาติ: Biladi ("My Country") | |||||
เมืองหลวง | เยรูซาเลม (เป็นทางการ) ฉนวน กาซา (เป็นข้อโต้แย้ง) |
||||
เมืองใหญ่สุด | เยรูซาเลม | ||||
ภาษาราชการ | {{{official_languages}}} | ||||
รัฐบาล | สาธารณรัฐ | ||||
{{{sovereignty_type}}} | |||||
เนื้อที่ - ทั้งหมด - พื้นน้ำ (%) |
[[{{{area_magnitude}}} ม.²|{{{area}}} กม.²]] (อันดับที่ {{{area_rank}}}) {{{areami²}}} ไมล์² {{{percent_water}}} |
||||
ประชากร - {{{population_estimate_year}}} ประมาณ - ความหนาแน่น |
{{{population_estimate}}} (อันดับที่ {{{population_estimate_rank}}}) {{{population_density}}}/กม² (อันดับที่ {{{population_density_rank}}}) {{{population_densitymi²}}}/ไมล์² |
||||
เขตเวลา | {{{time_zone}}} (UTC{{{utc_offset}}}) |
ปาเลสไตน์ (Palestine: ภาษาฮิบรู: פלשתינה, Palestina, ארץ ישראל) เป็นชื่อเรียกดินแดนที่อยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และแม่น้ำจอร์แดนได้รับ การประกาศ เป็น รัฐปาเลสไตน์ในปี 1988 โดยสหประชาชาติ โดยมีดินแดนบางส่วนใน เวสต์แบงก์และฉนวนกาซา ซึ่งไม่ติดกัน
ชื่อ "ปาเลสไตน์" มาจากคำว่า "Philistine" ซึ่งหมายถึงชนเผ่าที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งทางใต้ของดินแดนนี้
เนื้อหา |
[แก้] อาณาเขต
ส่วนหนึ่งของดินแดนนี้ที่อยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน เคยถูกเรียกว่า "ดินแดนคะนาอัน" (Canaan) ในช่วงที่อยู่ใต้การปกครองของอียิปต์ ในภายหลังได้แบ่งการปกครองออกเป็นสองส่วน ส่วนทางใต้กลายเป็นราชอาณาจักรยูดาห์ ส่วนทางเหนือคือราชอาณาจักรอิสราเอล
[แก้] ประวัติศาสตร์
[แก้] สมัยโรมัน
[แก้] สมัยจักรวรรดิไบแซนไทน์
[แก้] สมัยการปกครองของมุสลิม
[แก้] สมัยสงครามครูเสด
[แก้] สมัยมัมลุค
[แก้] สมัยจักรวรรดิออตโตมัน
[แก้] ศตวรรษที่ 19-20
[แก้] สมัยการปกครองของสหราชอาณาจักร
British Mandate of Palestine (1920–1948)
[แก้] การแบ่งดินแดนโดยสหประชาชาติ
[แก้] สถานะปัจจุบัน
หลังสงครามอาหรับ-อิสราเอล ค.ศ. 1948 ได้มีข้อตกลงสงบศึกใน ค.ศ. 1949 กำหนดให้แบ่งดินแดนออกเป็น 4 ส่วน ให้กับอิสราเอล และชาติอาหรับในบริเวณนั้นอีก 3 ชาติ คือ อียิปต์, จอร์แดน และซีเรีย
อิสราเอลได้เนื้อที่ไป 26% คือฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน ส่วนจอร์แดนได้ไป 21% กรุงเยรูซาเล็มถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนให้กับทั้งอิสราเอลและจอร์แดน ส่วนอียิปต์ได้บริเวณฉนวนกาซา เมื่อการแบ่งดินแดนกันเรียบร้อย ก็เกิดการอพยพของชาวยิวและชาวอาหรับเพื่อเข้าไปอาศัยอยู่ในเขตแดนของตน
หลังจากสงครามหกวัน ในปี ค.ศ. 1967 อิสราเอลได้ยึดดินแดนบางส่วนของอียิปต์และจอร์แดนได้
[แก้] ดูเพิ่ม
|
||
---|---|---|
ประเทศ | กัมพูชา • กาตาร์ • เกาหลีใต้ • เกาหลีเหนือ • คาซัคสถาน1 • คีร์กีซสถาน • คูเวต • จอร์เจีย1 • จอร์แดน • จีน • ญี่ปุ่น • ซาอุดีอาระเบีย • ซีเรีย • ไซปรัส2 • ติมอร์ตะวันออก3 • ตุรกี1 • เติร์กเมนิสถาน • ทาจิกิสถาน • ไทย • เนปาล • บรูไน • บังกลาเทศ • บาห์เรน • ปากีสถาน • พม่า • ฟิลิปปินส์ • ภูฏาน • มองโกเลีย • มัลดีฟส์ • มาเลเซีย • เยเมน • รัสเซีย1 • ลาว • เลบานอน • เวียดนาม • ศรีลังกา • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ • สิงคโปร์ • อัฟกานิสถาน • อาเซอร์ไบจาน1 • อาร์เมเนีย2 • อินเดีย • อินโดนีเซีย3 • อิรัก • อิสราเอล • อิหร่าน • อียิปต์4 • อุซเบกิสถาน • โอมาน | |
ดินแดน | ฮ่องกง (จีน) • ชัมมูและกัษมีระ (อินเดีย/ปากีสถาน/จีน) • เคอร์ดิสถาน (อิรัก) • มาเก๊า (จีน) • นากอร์โน-คาราบัค1 (อาเซอร์ไบจาน) • ปาเลสไตน์: ฉนวนกาซา • เวสต์แบงก์ (อิสราเอล/รัฐบาลปาเลสไตน์) •ไต้หวัน (จีน/รัฐบาลไต้หวัน) • สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ1 (ไซปรัส) | |
(1) อาจจัดให้อยู่ในทวีปยุโรป; (2) อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองสังคมกับทวีปยุโรป; (3) อาจจัดพื้นที่บางส่วน/ทั้งหมดให้อยู่ในเขตโอเชียเนีย; (4) พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปแอฟริกา |
ปาเลสไตน์ เป็นบทความเกี่ยวกับ ประเทศ เมือง หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ปาเลสไตน์ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |