งูผ้าขี้ริ้ว
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชื่อวิทยาศาสตร์ | 'Acrochordus granulatus' Schneider, ค.ศ. 1799 |
งูผ้าขี้ริ้ว เป็นงูในจำพวกงูทะเลชนิดเดียวที่พบในประเทศไทยที่ไม่มีพิษ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acrochordus granulatus ในวงศ์ Colubridae ตัวสีเทาลายเทาเข้มปนน้ำเงินหรือสีเทาดำสลับกับสีขาว เกล็ดที่หนังมีลักษณะเป็นตุ่ม (Granular Scales) เล็ก ๆ ที่ท้องไม่มีเกล็ด ลักษณะลำตัวเหมือนงูงวงช้าง (Acrochordus javanicus) ซึ่งเป็นงูในสกุลเดียวกัน ลำตัวนุ่มนิ่มเหมือนผ้าขี้ริ้ว อันเป็นที่มาของชื่อ หนังย่นได้มาก สามารถพับงอตัวได้ดี ขณะยังเล็กอยู่จะมีลายสีเข้มและสีจางลง เมื่อโตขื้น
อาศัยอยู่ในเขตน้ำตื้นตามพื้นโคลนตามชายฝั่งทะเล ป่าชายเลน หรือปากแม่น้ำ กินปลาเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์กว้างขวางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงทวีปออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน เป็นงูชนิดที่เคลื่อนไหวได้ดีในน้ำ แต่จะเชื่องช้าเมื่อขึ้นมาอยู่บนบก มีพฤติกรรมผสมพันธุ์ในเดือนกรกฎาคมไปจนถึงปลายปี ออกลูกเป็นตัว ลูกงูจะเกิดมาในช่วงเดือนมิถุนายนปีถัดมา โดยงูตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าและสามารถกินอาหารที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ มีอุปนิสัย ไม่ดุ มักติดอวนของชาวประมงอยู่บ่อย ๆ เมื่อถูกจับได้และขดตัวอยู่นิ่ง ๆ แสร้งทำเป็นตาย
นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง พบขายตามร้านขายปลา มีชื่อเรียกเฉพาะว่า " งูม้าลาย "
|
|
---|---|
งูไม่มีพิษ | งูดินลายขีด • งูดินหัวเหลือง • งูดินหัวขาว • งูดินธรรมดา • งูดินโคราช • งูดินเมืองตรัง • งูดินใหญ่ • งูก้นขบ • งูแสงอาทิตย์ • งูหลาม • งูเหลือม • งูหลามปากเป็ด • งูงวงช้าง • งูผ้าขี้ริ้ว • งูพงอ้อเล็ก • งูพงอ้อหัวขาว • งูพงอ้อหลากหลาย • งูพงอ้อท้องเหลือง • งูขอนไม้ • งูกินทากลายขวั้น • งูกินทากเกล็ดสัน • งูกินทากสีน้ำตาล • งูกินทากมลายู • งูกินทากจุดดำ • งูกินทากจุดขาว • งูกินทากหัวโหนก • งูลายสาบตาโต • งูรังแหหลังศร • งูรังแหหัวแดง • งูหัวศร • งูคอขวั้นปลายหัวดำ • งูคอขวั้นหัวลายสามเหลี่ยม • งูคอขวั้นหัวดำ • งูปล้องฉนวนบ้าน • งูปล้องฉนวนลายเหลือง • งูปล้องฉนวนสร้อยเหลือง • งูปล้องฉนวนเมืองเหนือ • งูปล้องฉนวนสีน้ำตาล • งูปล้องฉนวนภูเขา • งูสายทองลายแถบ • งูสายทองคอแหวน • งูสายทองมลายู • งูปล้องฉนวนบอร์เนียว • งูปล้องฉนวนธรรมดา • งูปล้องฉนวนมลายู • งูปี่แก้วลายกระ • งูปี่แก้วสีจาง • งูปี่แก้วหลังจุดวงแหวน • งูปี่แก้วธรรมดา • งูคุด • งูงอดเขมร • งูปี่แก้วหัวลายหัวใจ • งูงอด • งูปี่แก้วใหญ่ • งูปี่แก้วภูหลวง |
งูมีพิษอ่อน | งูเขียวกาบหมาก • งูกาบหมากหางนิล • งูทางมะพร้าวธรรมดา • งูทางมะพร้าวแดง • งูทางมะพร้าวดำ • งูสิงธรรมดา • งูสิงหางลาย • งูสิงหางดำ • งูสิงทอง • งูสายม่านแดงหลังลาย • งูสายม่านเกล็ดใต้ตาใหญ่ • งูสายม่านหลังทอง • งูสายม่านคอขีด • งูสายม่านพระอินทร์ • งูสายม่านลายเฉียง • งูควนขนุน • งูดงคาทอง • งูแม่ตะงาวรังนก • งูเขียวดง • งูเขียวดงลาย • งูปล้องทอง • งูต้องไฟ • งูแส้หางม้า • งูแส้หางม้าเทา • งูกระ • งูเขียวหัวจิ้งจก • งูเขียวหัวจิ้งจกมลายู • งูเขียวปากแหนบ • งูสายน้ำผึ้ง • งูหมอก • งูม่านทอง • งูเขียวดอกหมาก • งูเขียวพระอินทร์ • งูดอกหมาก • งูลายสอเกล็ดใต้ตาสอง • งูลายสอลายสามเหลี่ยม • งูลายสาบท้องสามขีด • งูลายสาบท่าสาร • งูลายสาบมลายู • งูลายสาบดอกหญ้า • งูลายสอใหญ่ • งูลายสอธรรมดา • งูลายสาบคอแดง • งูลายสาบจุดดำขาว • งูลายสาบเขียวขวั้นดำ • งูลายสอลาวเหนือ • งูลายสอสองสี • งูลายสอหมอบุญส่ง • งูปลิง • งูไซ • งูสายรุ้ง • งูสายรุ้งดำ • งูสายรุ้งลาย • งูหัวกะโหลก • งูปากกว้างน้ำเค็ม • งูเปี้ยว • งูปลาตาแมว • งูกระด้าง • งูปลาหลังม่วง • งูปลาหลังเทา |
งูมีพิษร้ายแรง | งูสามเหลี่ยม • งูทับสมิงคลา • งูสามเหลี่ยมหัวหางแดง • งูเห่า • งูเห่าพ่นพิษสยาม • งูเห่าพ่นพิษสีทอง • งูจงอาง • งูพริกท้องแดง • งูพริกสีน้ำตาล • งูปล้องหวายหัวดำ • งูปล้องหวายหัวเทา • งูปล้องหวายลายขวั้นดำ • งูสมิงทะเลปากเหลือง • งูสมิงทะเล • งูชายธงลายข้าวหลามตัด • งูทากลาย • งูกระรังหัวโต • งูชายธงท้องขาว • งูคออ่อนหัวโต • งูทากลายท้องขาว • งูเสมียนรังหัวสั้น • งูคออ่อนหัวเข็ม • งูชายธงหลังดำ • งูอ้ายงั่ว • งูแสมรังเหลืองลายคราม • งูแสมรังหางขาว • งูแสมรังลายเยื้อง • งูฝักมะรุม • งูแสมรังเทา • งูแสมรังปล้องหัวเล็ก • งูแสมรังท้องเหลือง • งูแสมรังหัวเข็ม • งูแสมรังลายวงแหวน • งูทะเลอ่าวเปอร์เซีย • งูทะเลจุดขาว • งูแมวเซา • งูกะปะ • งูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง • งูเขียวหางไหม้ตาโต • งูเขียวหางไหม้ท้องเขียว • งูเขียวไผ่ • งูเขียวหางไหม้ลายเสือ • งูหางแฮ่มกาญจน์ • งูแก้วหางแดง • งูเขียวหางไหม้สุมาตรา • งูปาล์ม • งูเขียวตุ๊กแก • งูหางแฮ่มภูเขา |