โท้
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โท้ (ภาษาเวียดนาม: Người Thổ) บางครั้งก็ถูกเรียกว่า แกว, มอน, โฮ,ไทปูง บ้าง และเป็นกลุ่มชนที่จีนเรียกว่า "ตูเยน" เป็นกลุ่มชนที่เดิมมีจำนวนมากที่สุดใน เขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง ยิ่งเป็นกวางสีตอนใต้ มีจำนวนถึงร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมด ส่วนคำว่า "โท้" นั้น แปลว่า ดิน เนื่องจากชาวโท้สันทัดในการทำเกษตร
โท้ ซึ่งอยู่ทางใต้ลำน้ำแคร์ (ซงเกี๋ยม)ซึ่งอยู่ภายใต้ญวนโดยเฉพาะ (ส่วนทางตอนเหนือ เรียกตัวเองว่า "ไท") ซึ่งเดิมสองกลุ่มชนนี้เป็นพวกเดียวกันมาแต่เดิม มีลักษณะสำคัญที่เหมือนๆกัน แต่ต่อมาผิดแผกไปเพราะได้รับอิทธิพลของผู้ปกครอง โท้กับไทเป็นเครือญาติใกล้ชิดกัน แต่มีความแตกต่างที่พอจะและเห็นได้ ในขนบธรรมเนียมประเพณี เครื่องแต่งกาย และการครองชีพ ความแตกต่างนี้เกิดจากต่างฝ่ายต่างห่างเหินกัน
ชาวโท้เป็นชาวไทที่ทำเกษตรกรรมเป็นหลัก อยู่บ้านที่มีเสาเรือนสูง มีเครื่องแต่งตัวสวยงามผิดกันกันญวน ซึ่งเคยเป็นเจ้านายมาแต่ก่อน
|
|
---|---|
ภาษาไหล-เกยัน | หลี • เจียมาว • เกลาว • ลาติ • ลาติขาว • จาเบียว • ลาคัว • ลาฮา |
ภาษาคำ-ไท | เบ • แสก • ลักเกีย • อ้ายจาม • ต้ง • คัง • มู่หลาม • เหมาหนาน • สุย |
กลุ่มภาษาคำ-ไท > กลุ่มภาษาไท
|
|
กลุ่มเชียงแสน | ไทดำ • ไทยวน (ล้านนาไทย) • ไทขาว • ไทยสยาม • ไทฮ่างตง • ไทแดง • พวน • ตูลาว |
กลุ่มลาว-ผู้ไท | ลาว • ญ้อ • ผู้ไท • ไทยอีสาน |
กลุ่มไทพายัพ | อาหม • อ่ายตน • คำตี่ • คำยัง • พ่าเก • ไทขึน • ไทใหญ่ (ฉาน) • ไทลื้อ • ไทเหนือ |
กลุ่มอื่นๆ | ปายี • ไทถาน • ไทยอง • ไทหย่า |
ภาษาไต(อื่นๆ) | จ้วง • นุง • ต่าย (โท้) • ตุรุง • นาง • ปูยี |