ภาษาลิซู
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาลีซอ | ||
---|---|---|
พูดใน: | จีน, อินเดีย, พม่า, ไทย | |
จำนวนผู้พูด: | 723,000 คน | |
ตระกูลภาษา: | ซีโน-ทิเบตาน ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ภาษากลุ่มพม่า-โลโล ภาษากลุ่มโลโล ภาษากลุ่มโลโลเหนือ ภาษาลีซอ |
|
ระบบการเขียน: | อักษรฟราเซอร์ | |
สถานะทางการ | ||
ภาษาทางการใน: | เขตปกครองตนเองเหว่ยซี, เขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง | |
องค์กรควบคุม: | ไม่มี | |
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | -- | |
ISO 639-2: | -- | |
ISO 639-3: | lis | |
หมายเหตุ: บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ | ||
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา |
ภาษาลีซอ หรือ ลีสู่ เป็นภาษากลุ่มจีน-ทิเบต ที่มีเสียงวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลยูนนาน พม่าเหนือและภาคเหนือของไทย รวมทั้งบางส่วนในอินเดีย เป็นภาษาพูดของชาวลีซอ มีสามสำเนียงคือ หัว ไป่ และลู ใกล้เคียงกับภาษาลาฮูและภาษาอาข่า และมีความสัมพันธ์กับภาษาพม่า ภาษาจิงผ่อ และภาษายิ
|
|
---|---|
ภาษาในพม่าและไทย | พม่า • ก๊อง • มปี • ลาฮู • ลีซอ • อาข่า • กะเหรียง • จิงผ่อ • มูเซอ • เมี่ยน |
ภาษาในจีน | น่าซี • ไป๋ • อี้ • ลีซอ • เอ้อซู • ตันกัต • ทิเบต |
ภาษาในเอเชียใต้ | เนวารี • กินเนารี • คาม • ชันเตียล • เชอร์ปา • ซองคา • ทูลุง • โบโด • มณีปุระ • กอกโบรอก • ไมโซ • องามี • เอา ฮมาร์ • นัรพู • บัลติ • บาฮิง • เบลฮาเร • ปูมา • ลาดัก • ลิมบู • เลปชา • โลทา • วัมบูเล • สิกขิม |