ภาษาจิงผ่อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาจิงผ่อ | ||
---|---|---|
พูดใน: | พม่า, จีน | |
ภูมิภาค: | รัฐกะฉิ่น, เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิงผ่อ เต๋อหง, ตำบลหยิงเจียง | |
จำนวนผู้พูด: | 900.000[1] | |
ตระกูลภาษา: | ภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ภาษากลุ่มจิงผ่อ-กอนยัก-โบโด ภาษากลุ่มจิงผ่อ-ลูอิช ภาษาจิงผ่อ |
|
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | ไม่มี | |
ISO 639-2: | kac | |
ISO 639-3: | kac | |
หมายเหตุ: บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ | ||
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา |
ภาษาจิงผ่อหรือภาษาจิ่งเปา ภาษาฉิ่งโป เป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่า ใช้พูดในรัฐกะฉิ่น ประเทศพม่า จนบางครั้งมีผู้เรียกว่าภาษากะฉิ่น เนื่องจากเป็นภาษาของชนาติจิงผ่อ ซึ่งเป็นชนชาติหลักของกลุ่มชนชาติคะฉิ่น นอกจากนี้มีผู้พูดในจีนอีกราว 40.000 คน โดยเฉพาะที่เขตเต๋อหง และเมื่อพ.ศ. 2542 รวมมีผู้พูดทั้งหมดราว 900.000 คน
[แก้] อ้างอิง
|
|
---|---|
ภาษาในพม่าและไทย | พม่า • ก๊อง • มปี • ลาฮู • ลีซอ • อาข่า • กะเหรียง • จิงผ่อ • มูเซอ • เมี่ยน |
ภาษาในจีน | น่าซี • ไป๋ • อี้ • ลีซอ • เอ้อซู • ตันกัต • ทิเบต |
ภาษาในเอเชียใต้ | เนวารี • กินเนารี • คาม • ชันเตียล • เชอร์ปา • ซองคา • ทูลุง • โบโด • มณีปุระ • กอกโบรอก • ไมโซ • องามี • เอา ฮมาร์ • นัรพู • บัลติ • บาฮิง • เบลฮาเร • ปูมา • ลาดัก • ลิมบู • เลปชา • โลทา • วัมบูเล • สิกขิม |