ภาษาก๊อง
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
-
บทความนี้เกี่ยวกับภาษา สำหรับการ์ตูนญี่ปุ่น ดูที่ ก๊อง ไอ้แสบดึกดำบรรพ์
ภาษาก๊อง | ||
---|---|---|
พูดใน: | ไทย | |
จำนวนผู้พูด: | 80 (2543) | |
ตระกูลภาษา: | ซีโน-ทิเบตาน ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า ภาษากลุ่มพม่า-โลโล ภาษากลุ่มโลโล ภาษากลุ่มโลโลใต้ ภาษาก๊อง |
|
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | ไม่มี | |
ISO 639-2: | sit | |
ISO 639-3: | ugo | |
หมายเหตุ: บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ | ||
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา |
ภาษาก๊องหรือภาษาอุก๊องเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล มีพยัญชนะ 21 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 3 เสียง สระมี 12 เสียง เป็นสระเดี่ยว 9 เสียง สระประสม 3 เสียง ไม่มีความแตกต่างระหว่างสระเสียงสั้นกับสระเสียงยาว มีวรรณยุกต์ 5 เสียง ปัจจุบันชาวก๊องนิยมพูดภาษาลาวมากกว่า โครงสร้างประโยคเป็นแบบ ประธาน-กรรม-กริยา คำขยายอยู่หน้ากริยา แต่อยู่หลังคำนาม คำบุพบทอยู่หลังคำนาม
[แก้] อ้างอิง
- มยุรี ถาวรพัฒน์. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ก๊อง (อุก๊อง). กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.
|
|
---|---|
ภาษาในพม่าและไทย | พม่า • ก๊อง • มปี • ลาฮู • ลีซอ • อาข่า • กะเหรียง • จิงผ่อ • มูเซอ • เมี่ยน |
ภาษาในจีน | น่าซี • ไป๋ • อี้ • ลีซอ • เอ้อซู • ตันกัต • ทิเบต |
ภาษาในเอเชียใต้ | เนวารี • กินเนารี • คาม • ชันเตียล • เชอร์ปา • ซองคา • ทูลุง • โบโด • มณีปุระ • กอกโบรอก • ไมโซ • องามี • เอา ฮมาร์ • นัรพู • บัลติ • บาฮิง • เบลฮาเร • ปูมา • ลาดัก • ลิมบู • เลปชา • โลทา • วัมบูเล • สิกขิม |