See also ebooksgratis.com: no banners, no cookies, totally FREE.

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
สยาม เจริญเสียง - วิกิพีเดีย

สยาม เจริญเสียง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

บทความนี้ได้รับแจ้งว่ามีลักษณะเหมือนประวัติการเรียนและประวัติการงาน
โดยเนื้อหาควรปรับให้เป็นรูปแบบสารานุกรม
(ดูตัวอย่างได้ที่ รุ่นรูปแบบประวัติการงาน เปรียบเทียบกับ รุ่นรูปแบบสารานุกรม)
หากเนื้อหาคัดลอกมาจากเว็บไซต์อื่น ให้ทำการแจ้งละเมิดลิขสิทธิ์ หรือลบส่วนที่ละเมิดลิขสิทธิ์ออกจากบทความ

กรุณาอภิปรายประเด็นนี้ในหน้าพูดคุย ดูเพิ่มที่ คู่มือการเขียน

รองศาสตราจารย์ ดร. สยาม เจริญเสียง
รองศาสตราจารย์ ดร. สยาม เจริญเสียง

รองศาสตราจารย์ ดร. สยาม เจริญเสียง ทำงานประจำที่ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ปัจจุบันเป็นสมาชิกภาพ สมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ปี 2543 ถึงปัจจุบัน

เนื้อหา

[แก้] ประวัติการศึกษา

  • ปริญญาเอก (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยแวนเดอร์บิลต์ สหรัฐอเมริกา 2542
  • ปริญญาโท (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยแวนเดอร์บิลต์ สหรัฐอเมริกา 2538
  • ปริญญาตรี (ฟิสิกส์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2535

[แก้] งานวิจัยที่สนใจ

  • Virtual Reality, Intelligent Robotics, Human-Machine Interface, Telepresence, Remote Manufacturing System, Mechatronics, Automatic Control

[แก้] ประวัติการทำงาน

  • รองผู้อำนวยการฝ่ายการศึกษา สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม สิงหาคม 2546 - ปัจจุบัน
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม สิงหาคม 2546 - ปัจจุบัน
  • รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 17 กุมภาพันธ์ 2549 –ปัจจุบัน
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 22 ตุลาคม 2545 –16 กุมภาพันธ์ 2549
  • กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 17 มีนาคม 2548-16 มีนาคม 2550
  • กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ของสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ปี 2546- ปัจจุบัน
  • คณะอนุกรรมการโครงการ “โครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 1 พฤษภาคม 2550-30 เมษายน 2551
  • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2550 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ผู้ทรงคุณวุฒิโครงการพัฒนาหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเมคคาทรอนิคส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปี 2550
  • คณะวิจัยพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับโครงการ One Laptop Per Child ที่เมืองแคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาซูเซ็ท สหรัฐอเมริกา 22 กันยายน 2549 – 18 ตุลาคม 2549 โดยการสนับสนุนของมูลนิธิศึกษาพัฒน์
  • คณะทำงานด้านสื่อการเรียนรู้สำหรับโครงการ One Laptop Per Child มกราคม 2549
  • คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเมคาทรอนิคส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 26 มกราคม 2549
  • อนุกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีความปลอดภัยในการทำงานและนวัตกรรม สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน มีนาคม 2548
  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 14 มิถุนายน 2542 – 31 กรกฎาคม 2546
  • เลขานุการสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ปี 2543 - 2545
  • กรรมการทางวิชาการของศูนย์ปฏิบัติการ CAD/CAM/CIM ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. ปี 2542 - 2545
  • เลขานุการบัณฑิตศึกษาประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มจธ. ปี 2542 ถึงปี 2544
  • กรรมการทางด้านการฝึกอบรมทางวิชาการ ในงานประชุม IEEE International Conference on Industrial Technology จัดที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 11-14 ธันวาคม พ.ศ. 2545
  • กรรมการจัดงานงานประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทยครั้งที่ 16 14-16 ตุลาคม 2545 จังหวัดภูเก็ต
  • ประธานดำเนินการประชุมทางวิชาการ
    • ในช่วงของ Tele-Operation and Medical Robotics ในงานการประชุมทางวิชาการทางเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมและหุ่นยนต์ 2550 โดยสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ที่นครปฐม วันที่ 14-15 มิถุนายน 2550
    • ในช่วงการบรรยายพิเศษหัวข้อ “Robotic Body-Mind Integration: Next Grand Challenge in Robotics” โดย Prof. Kazuhiko Kawamura, Vanderbilt University, USA ในงานการประชุมทางวิชาการทางเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมและหุ่นยนต์ 2548 โดยสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ที่กรุงเทพฯ วันที่ 16 มิถุนายน 2548
    • ในช่วงของ Machine Diagnosis ในงานประชุม IEEE International Conference on Industrial Technology จัดที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ ธันวาคม พ.ศ. 2545
    • ในช่วงของ Automation Technology II และ AI, Neural Network Applications ในงานประชุม ASIAR 2001 จัดที่กรุงเทพฯ พฤษภาคม 2544
  • ประธานร่วมดำเนินการประชุมทางวิชาการ
    • ในช่วงของ Measurement for Robotics ในงานประชุม IEEE International Conference on Industrial Technology จัดที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ ธันวาคม พ.ศ. 2545
  • ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์
    • งานการประชุมทางวิชาการทางเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมและหุ่นยนต์ 2550 โดยสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ที่นครปฐม วันที่ 14-15 มิถุนายน 2550
    • งานการประชุมทางวิชาการทางเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมและหุ่นยนต์ 2548โดยสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย ที่กรุงเทพฯ วันที่ 16 มิถุนายน 2548

[แก้] กรรมการตัดสิน

  • การแข่งขันหุ่นยนต์ ส. ส. ท. ยุวชนครั้งที่ 7 ที่เดอะมอลล์ บางกะปิ 2-3 มิถุนายน 2550
  • การประกวดสิ่งประดิษฐ์ “เยาวชนยอดนักประดิษฐ์ฟิลิปส์” ครั้งที่ 6 จัดโดย บริษัทฟิลิปส์อิเลกทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด วันที่ 23 มกราคม 2550
  • การแข่งขันสร้างหุ่นยนต์จากวัสดุเหลือใช้ โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ถาวร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ณ ศูนย์การประชุม BITEC วันที่ 21 สิงหาคม 2549
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ ส. ส. ท. ยุวชนครั้งที่ 6 ที่เดอะมอลล์ บางกะปิ 20-21 พฤษภาคม 2549
  • การประกวดสิ่งประดิษฐ์ “เยาวชนยอดนักประดิษฐ์ฟิลิปส์” ครั้งที่ 5 จัดโดยบริษัทฟิลิปส์อิเลกทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด วันที่ 31 มกราคม 2549
  • การแข่งขัน Thailand Rescue Robot Championship 2005 จัดโดย บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และ ม.มหิดล ที่เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน วันที่19 พฤศจิกายน 2548
  • การแข่งขันสร้างหุ่นยนต์จากวัสดุเหลือใช้ โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ถาวร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติ อิมแพค เมืองทองธานี วันที่ 28 สิงหาคม 2548
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ ส. ส. ท. ยุวชนครั้งที่ 5 18-19 มิถุนายน 2548
  • การแข่งขัน Thailand Rescue Robot Championship 2004 จัดโดย บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม ม.เกษตรฯ ที่เซ็นทรัลลาดพร้าว วันที่28 พฤศจิกายน 2547
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ ส. ส. ท. กรังปรีซ์ยุวชนครั้งที่ 4 29-30 พฤษภาคม 2547
  • การประกวดโครงการเยาวชนยอดนักประดิษฐ์ฟิลิปส์ 19 ธันวาคม2546 โดยบริษัทฟิลิปส์อิเลกทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด
  • การแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย 2546
    • รอบคัดเลือก 9 พฤศจิกายน 2546 และ รอบสุดท้าย 6-7 ธันวาคม 2546
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ ส. ส. ท. กรังปรีซ์ยุวชนครั้งที่ 3 7-8 มิถุนายน 2546
  • การแข่งขันหุ่นยนต์KMITNB GSM 2 WATTS Robot Contest 2001 มิถุนายน 2544
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ RoboCup Junior Contest มิถุนายน 2544
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ Partner Robot Contest พฤษภาคม 2544
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ SK Robot Contest 2000 ธันวาคม 2543
  • การแข่งขันเขียนเว็บเพจ Bangkok University Web Contest พฤศจิกายน 2543
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ ส. ส. ท. กรังปรีซ์ยุวชนครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2543
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ FRIT Robot Contest 2000 พฤษภาคม 2543
  • การแข่งขันหุ่นยนต์ Ford Robot Contest 2000 กุมภาพันธ์ 2543

[แก้] อาจารย์/นักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง

  • โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน 2550

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

  • โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
    • 18 มีนาคม- 9 เมษายน 2549
  • โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน 2549

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

  • โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน 2548

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

  • โครงการ 2B-KMUTT รุ่นที่ 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
    • 11 มีนาคม- 10 เมษายน 2548
  • โครงการ 2B-KMUTT มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
    • 19 มีนาคม- 25 เมษายน 2547
  • โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน 2546

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

  • โครงงาน Mysterious XYZ Explorer ส่วนงานคอมพิวเตอร์และหุ่นยนต์ เมืองวิทยาศาสตร์ งานลูกเสือโลกครั้งที่ 20 ณ หาดยาว สัตหีบ ชลบุรี วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ถึงวันที่ 7 มกราคม 2546

[แก้] อบรมและแสดงผลงาน

  • บรรยายเรื่อง Advance Human Interface แก่นักศึกษาระดับปริญญาโทของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ณ.BangkokCODE 30 สิงหาคม 2550
  • บรรยายเรื่อง Virtual Reality Technology and Application แก่นักศึกษาระดับปริญญาเอกของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ณ.คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มจธ. 26 เมษายน 2550
  • บรรยายเรื่องการศึกษาที่สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มจธ. ในงานการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2549 ณ.ห้องบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 10 กันยายน 2549
  • อบรมเรื่อง Introduction to Robotics Technology แก่ผู้สนใจในงาน Thailand Industrial Fair 2006 ที่ไบเทค บางนา 12 กุมภาพันธ์ 2549
  • เสนอผลงานวิจัยเรื่อง Augmented Reality for Skill Transfer in Assembly Task ในงานสัมมนาทางวิชาการในงาน Thailand Animation & Multimedia 2006 (TAM 2006) 14 มกราคม 2549
  • อบรมเรื่อง “Introduction to Robotics Technology”, “Introduction to Sensors and Actuators” and “Introduction to Robot Programming and Interfaces” แก่พนักงานใหม่ระดับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ 28 ตุลาคม 2548.
  • อบรมเรื่อง Introduction to Robotics Technology แก่ผู้สนใจในงาน Assembly Technology ที่อิมแพค เมืองทองธานี18 มิถุนายน2548
  • อบรมเรื่อง Introduction to Visual C++ for Automation Development แก่วิศวกร บริษัท Western Digital (Thailand) 12 มีนาคม 2548
  • อบรมเรื่อง แนะนำสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม และ A PC-based Fully Immersive Virtual Reality System for Robot Arm Simulator แก่ผู้สนใจในการออกแบบหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 19 มกราคม 2548
  • เสนอผลงานวิจัยเรื่อง A PC-based Fully Immersive Virtual Reality System for Robot Arm Simulator ในงานสัมมนา International Conference TAM 2005 วันที่ 7 มกราคม 2548
  • อบรมเรื่อง Introduction to Robot Technology แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ กรกฎาคม 2546
  • อบรมเรื่อง Introduction to Microsoft Visual C++ แก่พนักงานระดับผู้บริหาร บริษัทซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด กุมภาพันธ์ พฤษภาคม และมิถุนายน 2546
  • อบรมเรื่อง Introduction to Robot Technology แก่อาจารย์สังกัดกรมอาชีวศึกษา กรกฎาคม 2545
  • อบรมเรื่อง Introduction to Robot Technology แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ กรกฎาคม 2545
  • อบรมเรื่อง Mastering MFC Fundamentals using Microsoft Visual C++ แก่บริษัท รีท-ไรท์ (ประเทศไทย) จำกัด พฤษภาคม 2544
  • อบรมเรื่อง Introduction to Fuzzy Logic แก่บริษัท รีท-ไรท์ (ประเทศไทย) จำกัด พฤษภาคม 2544
  • อบรมเรื่อง Introduction to Neural Network แก่บริษัท รีท-ไรท์ (ประเทศไทย) จำกัด พฤษภาคม 2544
  • อบรมเรื่อง Robot Programming and Virtual Reality Technologies แก่อาจารย์สังกัดกรมอาชีวศึกษา กรกฎาคม 2543

[แก้] อ้างอิง


aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - en - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu -