จาริก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์ | |
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · เบญจธรรม · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
|
สถานีย่อย |
---|
จาริก มีองค์ ๔ เป็นบาทพระคาถา ว่า ไม่ไปด้วยพาหนะ ๑ ถ้าจำเป็นอาจสามารถขึ้นเรือโดยประสงค์ข้ามฟากได้(โดยไม่ประสงค์ล่องตามลำน้ำ )๑ ไม่ไปด้วยฤทธิ์ ๑ ไปด้วยกำลังแห่งปลีแข้ง( คือเดินเอา) ๑ ประสงค์ให้ถือเพื่อใช่ในการเผยแผ่มักถือร่วมกับธุดงค์เพื่อประกาศพรหมจรรย์ เพราะการจาริกไปย่อมพบเจอเข้าถึงผู้คนมากกว่า เช่นถ้านั่งรถไปก็จะไม่ค่อยพบผู้คน หรือญาติโยมไม่กล้าเข้ามาพูดคุย อาจทอดทิ้งคนที่อาจอยากสนทนาด้วย และเพื่อให้ผู้พบมีจิตศรัทธาจากการปฤติธรรมหรือการเผยแผ่ด้วยการไม่พูดสอน แต่ทำให้ดู ดังคำพุทธพจน์ที่ให้แก่พระภิกษุสงฆ์กลุ่มแรก(๖๐ รูป)ในการส่งไปประกาศพระศาสนาว่า จรถ ภิกขเว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย ธมมํ ภิกขเว เทเสถ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเที่ยวจาริกไป จงแสดงซึ่งธรรม(ประกาศพรหมจรรย์)เพื่อประโยชน์ อนุเคราะห์ เพื่อความสุขแก่ชนหมู่มาก
[แก้] อ้างอิง
- พระมงคล ธมฺมครุโก วัดพรหมจริยาวาส นครสวรรค์