เพลย์สเตชัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เพลย์สเตชัน PlayStation |
|
---|---|
ผู้ผลิต | โซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ |
ชนิด | เครื่องเล่นวีดีโอเกม |
ยุค | ยุคที่ห้า |
ออกจำหน่าย | 3 ธันวาคม ค.ศ. 1994 1 กันยายน ค.ศ. 1995 29 กันยายน ค.ศ. 1995 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 |
ซีพียู | ซีพียูแบบ MIPS R3000 และ 33.8688 .เมกะเฮิร์ซ |
สื่อที่ใช้ | ซีดีรอม |
สื่อบันทึกข้อมูล | เมโมรีการ์ด |
ยอดขาย | 102.49 ล้านเครื่อง[1] |
เกมยอดนิยม | แกรนทัวริสโม |
รุ่นถัดไป | เพลย์สเตชัน 2 |
เพลย์สเตชัน (อังกฤษ: PlayStation ญี่ปุ่น: プレイステーション) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม ระบบ 32 บิต ผลิตโดย Sony Computer Entertainment โดยได้มีออกมาหลายรุ่นในลักษณะหลักเดียวกันในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2540 หลังจากที่ประสบความสำเร็จทางโซนี่ได้ออกเครื่องเล่นเกมในรุ่นต่อมาซึ่งได้แก่ พีเอสวัน (PSone), เพลย์สเตชัน 2, PSP (PlayStation Portable) และ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกจำหน่ายไปแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2549
[แก้] อ้างอิง
- ^ http://www.playstation.com/business.html (March 2005)
-- ข้อมูลเพิ่มเติม --
เพลสเตย์ชั่น รุ่นแรกมี2แบบคือ
1.เครื่องใหญ่ มีปุ่มรีเซ็ต 2.เครื่องเล็ก ไม่มีปุ่มรีเซ็ต
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ ของเพลย์สเตชันในสหรัฐอเมริกา
- ข้อมูลผลิตภัณฑ์จาก Sony Computer Entertainment
เครื่องเล่นวิดีโอเกมที่นิยมในแต่ละยุค | |
ยุคหนึ่ง | โคเลโคเทลสตาร์ - ป็อง - แม็กนาวอกซ์โอดีสซี |
ยุคสอง | แฟร์ไชล์ แชนนอล เอฟ - อาตาริ 2600 - อินเทลลิวิชัน - อินเตอร์ตัน วีซี 4000 - โอดีสซี² - อาร์เคเดีย 2001 - อาตาริ 5200 - โคเลโกวิชัน - เว็คเทร็กซ์ - เอสจี-1000 |
ยุคสาม | แฟมิคอม - มาสเตอร์ซิสเตม - อาตาริ 7800 |
ยุคสี่ | ซูเปอร์แฟมิคอม - นีโอจีโอ - เซก้า เมก้าไดรฟ์ - เทอร์โบกราฟเอ็กซ์-16 |
ยุคห้า | 3DO - จากัวร์ - แซทเทิร์น - นินเทนโด 64 (ไอคิว) - เพลย์สเตชัน - เวอร์ชวลบอย - อะมีก้า ซีดี 32 |
ยุคหก | เกมคิวบ์ - ดรีมแคสต์ - เพลย์สเตชัน 2 - เอกซ์บอกซ์ |
ยุคเจ็ด | เพลย์สเตชัน 3 - วี - เอกซ์บอกซ์ 360 |
เพลย์สเตชัน เป็นบทความเกี่ยวกับ วิดีโอเกม หรือ เกมคอมพิวเตอร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ เพลย์สเตชัน ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:วิดีโอเกม |