อักษรธรรมล้านนา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง (คำเมือง: ตั๋วเมือง) พัฒนามาจากอักษรมอญ เช่นเดียวกับอักษรตัวธรรมของล้านช้างและอักษรพม่า อักษรล้านนาใช้ในอาณาจักรล้านนาเมื่อราว พ.ศ. 1802 จนกระทั่งถูกพม่ายึดครองใน พ.ศ. 2101 ปัจจุบันใช้ในงานทางศาสนา และพบได้ในวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย
เนื้อหา |
[แก้] ใช้เขียน
- ภาษาไทยเหนือหรือคำเมือง
[แก้] ระบบการเขียน
[แก้] พยัญชนะ
[แก้] สระ
[แก้] สระแท้
เป็นสระที่ไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเอง ต้องนำไปผสมกับพยัญชนะก่อนจึงจะสามารถออกเสียงได้
[แก้] สระจากภาษาบาลี
เป็นสระที่มาจากภาษาบาลี สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเองไม่จำเป็นต้องนำไปผสมกับพยัญชนะก่อน แต่บางครั้งก็มีการนำไปผสมกับพยัญชนะหรือสระแท้ เช่น คำว่า "เอา" สามารถเขียนได้โดยเขียนสระจากภาษาบาลี 'อู' ตามด้วย สระแท้ 'า' คือ
[แก้] วรรณยุกต์
เนื่องจากล้านนาได้นำเอาระบบการเขียนของมอญมาใช้โดยแทบจะไม่มีการปรับเปลี่ยนเลยและภาษามอญเองก็เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ดังนั้นในอดีตจึงไม่ปรากฏว่ามีการใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ในภาษาล้านนาเลย (เคยมีการถกเถียงกันเรื่องชื่อของล้านนาว่าจริงๆแล้วชื่อ "ล้านนา" หรือ "ลานนา" กันแน่ แต่ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่า "ล้านนา") จนกระทั่งในระยะหลังเมื่ออิทธิพลของสยามแผ่เข้าไปในล้านนาจึงปรากฏการใช้รูปวรรณยุกต์ในภาษาล้านนา
ภาษาล้านนาสามารถผันได้ 6 เสียง (จริงๆแล้วมีทั้งหมด 7 หรือ 8 เสียง แต่ในแต่ละท้องถิ่นจะใช้เพียง 6 เสียงเท่านั้น) การผันจะใช้การจับคู่กันระหว่างอักษรสูงกับอักษรต่ำจึงทำให้ต้องใช้วรรณยุกต์เพียง 2 รูปเท่านั้น คือ เอก กับ โท (เทียบภาษาไทยกลาง) เช่น
การที่มีรูปวรรณยุกต์เพียง 2 รูปนี้ทำให้เกิดปัญหากับอักษรกลาง คือ ไม่สามารถแทนเสียงได้ครบทั้ง 6 เสียง ดังนั้นจึงอาจอนุโลมให้แต่ละรูปศัพท์แทนการออกเสียงได้ 2 เสียง
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บตั๋วเมือง
- รูปและการออกเสียงของอักษรล้านนา (อังกฤษ)
- สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
||
---|---|---|
ประวัติศาสตร์อักษร | ||
รายชื่อ | แบ่งตามชนิดอักษร • แบ่งตามทิศทางการเขียน | |
อักษรไร้สระ (Abjad) |
ซัลเตอร์ • ซอกเดีย • ซาบาเอียน • ซามาริทัน • ซีเรียค • ทิฟินาค • ดิเวส อกุรุ • นาบาทาเอียน • เบอร์เบอร์โบราณ • เปอร์เซียกลาง • พาร์เทียน • ฟินิเชียน • มันดาอิก • ยาวี • ยูการิติก • อราเมอิก • อาระเบียใต้ • อาหรับ • ฮีบรู • ฮีบรูระยะแรก | |
อักษรสระประกอบ (Abugidas) |
ตระกูลอักษรพราหมี: กทัมพะ • กลิงคะ • กวิ • กันนาดา • กันนาดาโบราณ • ไกถิ •ขอม (ขอมไทย ขอมบาลี) • เขมร • ขโรษฐี • คยาห์ • คุชราต • คุปตะ • คุรมุขี • จาม • ชวา • ชักมา • ซุนดา • ซุนดาโบราณ • โซยอมโบ • ดิเวส อกุรุ • ตกริ • ตักบันวา • เตลุกุ • โตชาเรียน • ทมิฬ • ทิเบต • เทวนาครี • ไทดำ • ไทใต้คง • ไทย • ไทลื้อ • ไทใหญ่ • ไทอาหม • ธรรมลาว • เนปาล • บาตัก • บายบายิน • บาหลี • บูฮิด • เบงกาลี • ปัลลวะ (คฤนถ์) • พม่า • พราหมี • พัก-ปา • ม้ง • มอญ • มณีปูรี • มาลายาลัม • มิถิลักศาร์ • โมดี • รานจารา • เรดยัง • ลนตารา • ลัณฑา • ล้านนา • ลาว • ลิมบู • เลปชา • วารังกสิติ • ศารทา • โสวรัสตระ • สิงหล • สิทธัม • โสรัง สมเป็ง • ไสโลติ นครี • โอริยา • ฮานูโนโอ • อื่นๆ: Boyd's Syllabic Shorthand • กีเอซ • Hebrew cursive • เบรลล์ญี่ปุ่น • เมรอยติก •Pitman Shorthand • พอลลาร์ด เมียว • • ทานา • Thomas Natural Shorthand |
|
อักษรสระ-พยัญชนะ (Alphabets) |
Linear: กรีก • กลาโกลิติก • เกาหลี (ฮันกึล) • โกธิก • คอปติก • จอร์เจีย • ซีริลลิก • โซมาลี • บัสซา • เบยทากุกจู • โบสถ์สลาโวนิกโบราณ • เปอร์มิกโบราณ • ฟราเซอร์ • มองโกเลีย • แมนจู • รูนส์ • ละติน • เวเนติก • สันตาลี • อเวสตัน • อีทรัสคัน ออร์คอน • อาร์เมเนีย • อิตาลีโบราณ • อึนโก • เอลบ์ซาน • โอคัม • ไอริช • ฮังการีโบราณ • ชวเลขอีเคลกติก • ชวเลขกาเบลสแบร์เกอร์ • ชวเลขเกรกก์ • Greco-Iberian alphabet • Mandaic • Neo-Tifinagh • Ol Chiki • Shavian alphabet • ไทลื้อ (ประยุกต์) • Visible Speech • Zhùyīn fúhào • สัทอักษรสากล Non-linear: เบรลล์ • เบรลล์ฮีบรู • เบรลล์เกาหลี • Maritime flags • รหัสมอร์ส • New York Point • Semaphore line • Flag semaphore |
|
อักษรภาพ (Ideograms & Pictograms) |
Blissymbol • DanceWriting • ตงปา • Mi'kmaq • New Epoch Notation Painting • SignWriting | |
อักษรแทนคำ (Logograms) |
พื้นฐานจากอียิปต์: เดโมติก • เฮียราติก • เฮียโรกลิฟฟิก พื้นฐานจากพยางค์: อักษรในอนาโตเลีย (คาเรีย ไลเดีย ไลเซีย ลูเวีย) • รูปลิ่ม(อัคคาเดีย สุเมเรีย อีลาไมต์) • ตงปา • มายา • ตันกัท • อี้ (เดิม) |
|
อักษรกึ่งแทนพยางค์ (Semi-syllabaries) |
Full semi-syllabaries: เซลติเบเรียน • ไอบีเรีย Redundant semi-syllabaries: Southwestern script |
|
อักษรแทนพยางค์ (Syllabaries) |
กเปลเล • คะตะคะนะ • คาโรไลน์ •ไซเปรียท •อักษรนดยุกา • นหวู่ซู • มันโยงะนะ •เมนเด • รูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ • อักษรโลมา •ไลเนียร์บี • ไว • อฟากา • อี้ (ประยุกต์) • ฮิระงะนะ • Woleaian • Yugtun อักษรพื้นเมืองในแคนาดา: อักษรคาร์เรีย • ครี •เชอโรกี •แบล็กฟุต • อินุกติตุต •โอจิบเว |