ราชวงศ์อาหม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชวงศ์อาหม ปกครองอาหมมาเกือบ ๖๐๐ ปี นับตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ จนถึงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔
เนื้อหา |
[แก้] รายพระนามกษัตริย์ในราชวงศ์อาหม มีดังนี้
[แก้] ราชธานีชารายเทโว
- สุกาฟ้า พ.ศ. ๑๗๗๑-๑๘๑๑
- สุดทิวฟ้า พ.ศ. ๑๘๑๑-๑๘๒๔
- สุพินฟ้า พ.ศ. ๑๘๒๔-๑๘๓๖
- สุขางฟ้า พ.ศ. ๑๘๓๖-๑๘๗๕ (ทางลานช้างมีชื่อขว้างฟ้า)
- สุกรังฟ้า พ.ศ. ๑๘๒๕-๑๘๐๗
- สุทุฟ้า พ.ศ. ๑๘๐๗-๑๙๑๙
- ว่างกษัตริย์ พ.ศ. ๑๙๑๙-๑๙๒๓
- ท้าวขำติ พ.ศ. ๑๙๒๓-๑๙๓๒
- ว่างกษัตริย์ พ.ศ. ๑๙๓๒-๑๙๔๐
[แก้] ราชธานีชารากูจา (ชากุยะ)
- สุดางฟ้า พ.ศ. ๑๙๔๐-๑๙๕๐
- สุจางฟ้า พ.ศ. ๑๙๕๐-๑๙๖๕
- สุฟากฟ้า พ.ศ. ๑๙๖๕-๑๙๘๒
- สุแสนฟ้า พ.ศ. ๑๙๘๒-๒๐๓๑
- สุเหนฟ้า พ.ศ. ๒๐๓๑-๒๐๓๖
- สุพิมฟ้า พ.ศ. ๒๐๓๖-๒๐๔๐
[แก้] ราชธานีพกะตา
- สุหังฟ้า (ทิหิงเกียราชา) พ.ศ. ๒๐๔๐-๒๐๘๒ มีพระนามฮินดูว่า สวรรคะนารายณ์
[แก้] ราชธานีครหคาออน
- สุเคลนเมือง พ.ศ. ๒๐๘๒-๒๐๙๕
- สุขามฟ้า พ.ศ. ๒๐๙๕-๒๑๔๖
- สุแสงฟ้า พ.ศ. ๒๑๔๖-๒๑๘๔ มีพระนามฮินดูว่า ประทับ สิงห์
[แก้] ราชธานีไทมุง/รังปุระ
- สุรามฟ้า พ.ศ. ๒๑๘๔- ๒๑๘๗ มีพระนามฮินดูว่า ภะกา ราชา
[แก้] ราชธานีครหคาออน
- สุทยินฟ้า พ.ศ. ๒๑๘๗-๒๑๙๑ มีพระนามฮินดูว่า นรียา ราชา และมีชื่อว่า โกเกระ แปลว่า หลังโก่ง
[แก้] ราชธานีครหคาออน/พกะตา
- สุทามหล้า พ.ศ. ๒๑๙๑-๒๒๐๖ มีพระนามฮินดูว่า ชยธวัช สิงห์
[แก้] ราชธานีพกะตา/ครหคาออน
- สุพุงเมือง พ.ศ. ๒๒๐๖-๒๒๑๓ มีพระนามฮินดูว่า จักรธวัช สิงห์
- สุนยาตฟ้า พ.ศ. ๒๒๑๓-๒๒๑๕ มีพระนามฮินดูว่า อุทัยยาทิตยะ สิงห์
- สุขล้ำฟ้า พ.ศ. ๒๒๑๖-๒๒๑๘ มีพระนามฮินดูว่า รามธวัช
- สุหุง หรือ สุหุงเมือง พ.ศ ๒๒๑๘ (๒๑ วัน)
- โคบาร์ พ.ศ. ๒๒๑๘ (๑ เดือน)
- สุยินฟ้า พ.ศ. ๒๒๑๘-๒๒๒๐
- สุทัยฟ้า พ.ศ. ๒๒๒๐-๒๒๒๒
- สุลิคฟ้า พ.ศ. ๒๒๒๒-๒๒๒๔ มีพระนามฮินดูว่า ละรา ราชา
[แก้] ราชธานีบารโคลา
- สุพาตฟ้า พ.ศ. ๒๒๒๔-๒๒๓๙ มีพระนามฮินดูว่า คทาธาร สิงห์
[แก้] ราชธานีครหคาออน
- สุขรุงฟ้า พ.ศ. ๒๒๓๙-๒๒๕๗ มีพระนามฮินดูว่า รุทร สิงห์
[แก้] ราชธานีรังปุระ
- สุทานฟ้า พ.ศ. ๒๒๕๗-๒๒๘๗ มีพระนามฮินดูว่า สิบ สิงห์
- สุเนนฟ้า พ.ศ. ๒๒๘๗-๒๒๙๔ มีพระนามฮินดูว่า ประมัต สิงห์
- สุรามฟ้า พ.ศ. ๒๒๙๔-๒๓๑๒ มีพระนามฮินดูว่า รามเชศวร สิงห์
- สุเนียวฟ้า พ.ศ. ๒๓๑๒-๒๓๒๓ มีพระนามฮินดูว่า ลักษมี สิงห์
[แก้] ราชธานีจอรหาต
- สุหิตปางฟ้า พ.ศ. ๒๓๒๓-๒๓๓๘ มีพระนามฮินดูว่า โกรินาถ สิงห์
- สุกลิงฟ้า พ.ศ. ๒๓๓๘-๒๓๕๓ มีพระนามฮินดูว่า กมเรศวร สิงห์
- สุทินฟ้า(ครั้งที่๑)พ.ศ. ๒๓๕๓-๒๓๖๑ มีพระนามฮินดูว่า จันทรกานต์ สิงห์
- ไม่มีพระนามอาหม พ.ศ. ๒๓๖๑-๒๓๖๒ มีพระนามฮินดูว่า ปุรันทาร สิงห์
[แก้] การปกครองภายใต้อาณัติแห่งพม่า๒๓๖๒-๒๓๖๗
- สุทินฟ้า(ครั้งที่ ๒) พ.ศ. ๒๓๖๒-๒๓๖๔
- โชเคศวร พ.ศ. ๒๓๖๔-๒๓๖๗ เป็นเจ้าชายที่ฝ่ายพม่าให้มาปกครองอาหม
(*)ส่วนเดียวของอาณาจักรอาหมที่รอดพ้นจาการอยู่ภายใต้อาณัติแห่งพม่า คือดินแดนแม่น้ำบุริ ทิหิง (Buri Dihing)และแม่น้ำพรหมบุตร ซึ่งพวกโมอามาริอา ภายใต้การนำของประมุข บาร์ เสนะปติ ยังคงรักษาเอกราชไว้ได้
[แก้] การปกครองของสหราชอาณาจักร
- ว่างกษัตริย์ พ.ศ. ๒๓๗๐ - พ.ศ. ๒๓๗๗
- อังกฤษเข้ามายึดอัสสัมตอนใต้ พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๗๐
- สนธิสัญญายันดะโบ พ.ศ. ๒๓๗๐-๒๓๗๗
- ปุรันทาร สิงห์ (ครั้งที่ ๒) พ.ศ. ๒๓๗๗-๒๓๘๒
[แก้] อ้างอิง
- งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย ของ พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ
- ประวัติศาสตร์ชนชาติไท ของ กัญญา ลีลาลัย