ฟอสฟอรัส
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | ฟอสฟอรัส, P, 15 | ||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | อโลหะ | ||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | 15, 3, p | ||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | แว๊กซ์ขาว/ แดง/ ดำ/ ไม่มีสี |
||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 30.973762(2) กรัม/โมล | ||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Ne] 3s2 3p3 | ||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 5 | ||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | (white) 1.823 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | (red) 2.34 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | (black) 2.69 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | (white) 317.3 K (44.2 °C) |
||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 550 K(277 °C) | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | (white) 0.66 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 12.4 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) (white) 23.824 J/(mol·K) |
||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | |||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | ±3, 5, 4 (ออกไซด์เป็นกรดปานกลาง) |
||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 2.19 (Pauling scale) | ||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 1011.8 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1907 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 2914.1 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 100 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 98 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 106 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 180 pm | ||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | |||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | no data | ||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) (white) 0.236 W/(m·K) |
||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | 11 GPa | ||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7723-14-0 | ||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | |||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
ฟอสฟอรัส (อังกฤษ:Phosphorus)
ธาตุเคมีในกลุ่มอโลหะ เลขอะตอม 15 สัญลักษณ์ P
ฟอสฟอรัสอยู่ในกลุ่มไนโตรเจน มีวาเลนซ์ได้มาก ปรากฏในหลายอัลโลโทรป พบทั้งในหินฟอสเฟต และเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกเซลล์ (ในสารประกอบในดีเอ็นเอ) เนื่องจากสามารถทำปฏิกิริยาได้สูง จึงไม่ปรากฏในรูปอิสระในธรรมชาติ
คำว่า ฟอสฟอรัส มาจากภาษากรีกแปลว่า 'ส่องแสง' และ 'นำพา' เพราะฟอสฟอรัสเรืองแสงอ่อนๆ เมื่อมีออกซิเจน หรือมาจากภาษาละติน แปลว่า 'ดาวประกายพรึก'
[แก้] สารประกอบสำคัญ
- เตตระฟอสฟอรัสไตรซัลไฟด์ เป็นสารที่ใช้ในการผลิดหัวไม้ขีดไฟ
[แก้] ประโยชน์
เป็นธาตุที่จำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต การใช้งานทางพาณิชย์ที่สำคัญที่สุดของฟอสฟอรัส คือ การผลิตปุ๋ย นอกจากนี้ยังใช้ในการผลิตวัตถุระเบิด ไม้ขีดไฟ ดอกไม้ไฟ ยาฆ่าแมลง ยาสีฟัน และผงซักฟอก
[แก้] อ้างอิง
ฟอสฟอรัส เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ฟอสฟอรัส ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี |