โอปิออยด์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โอปิออยด์(อังกฤษ:opioid) เป็นสารที่เชื่อมกับโอปิออยด์ รีเซพเตอร์ (opioid receptor)พบในระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) และ ระบบทางเดินอาหาร(gastrointestinal tract) โอปิออยด์มี 4 กลุ่มคือ
- เกิดในกาย (endogenous) โอปิออยด์ เปปไทด์(peptide) สารตัวนี้ผลิตขึ้นในร่างกายเรา
- โอเปียมอัลคะลอยด์เช่น มอร์ฟีน (morphine) และ โคดีอีน (codeine)
- โอปิออยด์กึ่งสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน (heroin) และ ออกซีโคโดน (oxycodone)
- โอปิออยด์สังเคราะห์ เช่น เพติดีน (pethidine)
และ เมตทาโดน (methadone) มีโครงสร้างสัมพันะกับ โอเปียมอัลคะลอยด์
[แก้] โอปิออยด์มีตัวอย่างดังนี้
[แก้] เอนโดเจนัส โอปิออยด์
โอปิออยด์-เปปไทด์ ผลิตในร่างกายมีดังนี้:
- เอ็นดอร์ฟิน (endorphin)
- ไดนอร์ฟิน (dynorphin)
- เอนคีฟาลิน (enkephalin)
[แก้] โอเปียม อัลคาลอยด์ (Opium alkaloids)
ฟีนันทรีน (Phenanthrene) เกิดตามธรรมชาติใน ฝิ่น:
[แก้] อนุพันธ์กึ่งสังเคราะห์ (Semisynthetic derivatives)
- ไดอะมอร์ฟีน (เฮโรอีน (heroin))
- ออกซิโคโดน (oxycodone)
- ไฮโดโคโดน (hydrocodone)
- ไดไฮโดโคดีอีน (dihydrocodeine)
- ไฮโดรมอร์ฟีน (hydromorphone)
- ออกซิมอร์ฟีน (oxymorphone)
- นิโคมอร์ฟิน (nicomorphine)
[แก้] โอปอยด์สังเคราะห์ (Synthetic opioids)
[แก้] ฟีนิลเฮพทิลามีน (Phenylheptylamines)
- เมตทาโดน (methadone)
- LAAM (levomethadyl acetate hydrochloride)
[แก้] ฟีนิลปิเปอริดีน (Phenylpiperidines)
- มีเปอริดีน (meperidine)
- เฟนทานิล (fentanyl)
- อัลเฟนทานิล (alfentanil)
- ซูเฟนทานิล (sufentanil)
- รีมิเฟนทานิล (remifentanil)
- คีโตบีมิโดน (ketobemidone)
- คาร์เฟนทานิล (carfentanyl)
[แก้] อนุพันธ์ ไดฟีนิลโพรพิลามีน (Diphenylpropylamine derivatives)
- โพรพอกซิฟีน (propoxyphene)
- เด็กโตโพรพอกซิฟีน (dextropropoxyphene)
- เด็กโตรโมราไมด์ (dextromoramide)
- บีซิทาไมด์ (bezitramide)
- พิริทราไมด์ (piritramide)
[แก้] อนุพันธ์ เบนโซมอร์แฟน (Benzomorphan derivatives)
- เพนตาโซซีน (pentazocine)
- ฟีนาโซซีน (phenazocine)
[แก้] อนุพันธ์ โอริพาวีน (Oripavine derivatives)
- บูปรีนอร์ฟิน (buprenorphine)
[แก้] อนุพันธ์ มอร์ฟินัน (Morphinan derivatives)
- บูทอร์ฟานอล (butorphanol)
- นัลบูฟิน (nalbufine)
[แก้] อื่นๆ
- ดีโซซีน (dezocine)
- อีทอร์ฟีน (etorphine)
- ทิลิดีน (tilidine)
- ทรามาดอล (tramadol)
- โลเปอราไมด์ (loperamide) (ใช้รักษาโรคท้องร่วง ไม่ผ่าน บลัด-เบรน แบรริเออร์ (blood-brain barrier))
- ไดฟินอกซิเลต (diphenoxylate) (ใช้รักษาโรคท้องร่วง ไม่ผ่าน บลัด-เบรน แบรริเออร์ (blood-brain barrier))
[แก้] โอปิออยด์ แอนตาโกนิสต์ (Opioid antagonists)
- นาโลโซน (naloxone)
- นัลทรีโซน (naltrexone)
[แก้] อ้างอิง
- Rang HP, Dale MM, Ritter JM, Moore PK (2003). Pharmacology (5 ed.). Edinburgh: Churchill Livingstone. ISBN 0-443-07145-4.
- Rossi S (Ed.) (2004). Australian Medicines Handbook 2004. Adelaide: Australian Medicines Handbook. ISBN 0-9578521-4-2.
- Rossi S (Ed.) (2005). Australian Medicines Handbook 2005. Adelaide: Australian Medicines Handbook. ISBN 0-9578521-9-3.
- Roy S, Loh HH (1996). Effects of opioids on the immune system. Neurochem Res 21 (11), 1375-86. PMID 8947928
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
ยาบรรเทาปวด แก้ | |||
---|---|---|---|
พาราเซตามอล (อะเซตามิโนเฟน) · เอ็นเซด · โอปิแอต · เตตร้าไฮโดรแคนนาบินอล · คีตามีน |
|||
|
|||
|
โอปิออยด์ เป็นบทความเกี่ยวกับ เภสัชกรรมและยา ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ โอปิออยด์ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |