พลังงานแสงอาทิตย์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ พลังงานนี้เป็นต้นกำเนิดของวัฏจักรของสิ่งมีชีวิต ทำให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและธาตุต่างๆ เช่น คาร์บอน พลังงานแสงอาทิตย์จัดเป็นหนึ่งในพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ อีกทั้งเกิดใหม่ได้ไม่สิ้นสุด
รูปแบบการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้งาน
- พลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์
- พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ เช่น เตาแสงอาทิตย์ เครื่องทำน้ำร้อนแสงอาทิตย์
- พลังงานความร้อนสูงแสงอาทิตย์
[แก้] พลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์
พลังงานทดแทน |
---|
เชื้อเพลิงชีวภาพ มวลชีวภาพ พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำขึ้นน้ำลง พลังงานคลื่น พลังงานลม |
พลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ เป็นการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar cell หรือ Photovoltaic) ซึ่งถูกผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2426 โดย ชาร์ล ฟริทท์ โดยใช้ธาตุ ซีลีเนียม
ในปี พ.ศ. 2484 เป็นการเริ่มต้นของการผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยธาตุ ซิลิกอน โมเลกุลเดี่ยว ด้วยต้นทุนการผลิตที่ค่อนข้างสูง การใช้งานของแผงเซลแสงอาทิตย์ในช่วงแรก เน้นไปที่การใช้งานในอวกาศ เช่น ใช้กับดาวเทียม [1]
หลังจากประสบกับปัญหาน้ำมันแพง ใน พ.ศ. 2516 และ 2522 กลุ่มประเทศพัฒนาแล้วจึงหันมาให้ความสนใจในพลังงานแสงอาทิตย์และเริ่มมีการพัฒนาอย่างจริงจังมากขึ้น หลังจากการตีพิมพ์ข้อมูลโลกร้อนของ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์มีปริมาณเพิ่มขี้น 10-20% ทุกปี ในประเทศไทยการติดตั้งยังมีอยู่น้อย
[แก้] อ้างอิง
การพัฒนาและความยั่งยืนของพลังงาน แก้ไข | |
---|---|
การผลิตพลังงาน (Energy production) | แอคตีฟโซลาร์ | ไบโอแอลกอฮอล์ | ไบโอดีเซล | เชื้อเพลิงชีวภาพ | ก๊าซชีวภาพ | ชีวมวล | ดีปเลควอเตอร์คูลลิ่ง | การผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า | การผลิตไฟฟ้า | เชื้อเพลิงเอทานอล | เซลล์เชื้อเพลิง | พลังงานฟิวชัน | พลังงานความร้อนใต้พิภพ | ไฟฟ้าพลังน้ำ | เชื้อเพลิงเมทานอล | การแปลงพลังงานความร้อนของมหาสมุทร | พาสซีฟโซลาร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | โซลาร์ชิมเนย์ | แผงเซลล์แสงอาทิตย์ | พลังงานแสงอาทิตย์ | พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ | โซลาร์เทาเวอร์ | ไทดัลเพาเวอร์ | โทรมบ์วอลล์ | กังหันน้ำ | กังหันลม |
การพัฒนาพลังงาน (Energy development) |
การพัฒนาพลังงาน | สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า | การพัฒนาพลังงานในอนาคต | เศรษฐศาสตร์ไฮโดรเจน | ฮับเบิรต์พีค | การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ | ความทันสมัยเกินไป | เทคโนโลยีเฉพาะตัว |
พลังงานและสถานภาพความยั่งยืน (Energy and sustainability status) |
สถานภาพปัจจุบันของมนุษยชาติ | ระบบนิเวศบริการ | การ์ดาเชฟสเกล | TPE | ดรรชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ | คุณค่าของโลก | เทคโนโลยีระหว่างกลาง | ทุนโครงสร้างพื้นฐาน |
ความยั่งยืน (Sustainability) |
อาคารอัตโนมัติ | ป่านิเวศ | นิเวศเศรษฐศาสตร์ | การคุ้มครองโลก | เศรษฐศาสตร์พัฒนา | การออกแบบสิ่งแวดล้อม | การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติ | อาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม | ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น | อาคารธรรมชาติ | เกษตรถาวร | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ | Straw-bale construction | ความยั่งยืน | เกษตรยั่งยืน | การออกแบบอย่างยั่งยืน | การพัฒนาที่ยั่งยืน | อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน | ชีวิตที่ยั่งยืน | The Natural Step |
การจัดการความยั่งยืน (Sustainability management) |
คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | ทฤษฎีพัฒนามนุษย์ | การพัฒนาที่ผิดพลาด | ปฏิญญาริโอเรื่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา | สถาบันร๊อคกีเมาน์เทน | ซิมวันเดอร์ริน | ด้อยพัฒนา | สภาธุรกิจโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน | การประชุมสุดยอดของโลกว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน | หลักการการใช้มาตรการระวังล่วงหน้า | Intermediate Technology Development Group |
พลังงานและการอนุรักษ์ (Energy and conservation) |
การอนุรักษ์พลังงาน | Energy-efficient landscaping | รถยนต์ไฟฟ้า | รถยนต์ไฮโดรเจน | การใช้ชีวิตเรียบง่ายแบบสมัครใจ | การวัดรอยเท้าทางนิเวศ | พื้นที่การท่องเที่ยวที่ผสมผสานในแบบอนุรักษ์ | ของเสีย |
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นบทความเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ พลังงานแสงอาทิตย์ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |