หาอุ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หาอุ | ||||||||||||
ه | ||||||||||||
อักษรต่างรูป | ||||||||||||
|
||||||||||||
อักษรอาหรับ | ||||||||||||
ﺍ | ﺏ | ﺕ | ﺙ | ﺝ | ﺡ | ﺥ | ||||||
ﺩ | ﺫ | ﺭ | ﺯ | ﺱ | ﺵ | ﺹ | ||||||
ﺽ | ﻁ | ﻅ | ﻉ | ﻍ | ﻑ | ﻕ | ||||||
ﻙ | ﻝ | ﻡ | ﻥ | ه | ﻭ | ﻱ | ||||||
ประวัติอักษรอาหรับ· เครื่องหมายการออกเสียง · ฟัตฮะหฺ · กัสเราะหฺ · ء ·ฎ็อมมะหฺ · เลขอาหรับ |
หาอุ (He) เป็นอักษรตัวที่ห้าในอักษรตระกูลเซมิติกรวมทั้งอักษรฟินิเชียน , อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ה, อักษรซีเรียค ܗ และอักษรอาหรับ ه ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เสียดแทรก เกิดที่สายเสียง ([h]) อักษรฟินิเชียนตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Epsilon, อักษรอีทรัสคัน ̄, อักษรละติน E และอักษรซีริลลิก Ye. He ในอักษรฟินิเชียนใช้แทนเสียงพยัญชนะ แต่อักษรลูกหลานอื่นๆใช้แทนเสียงสระ
ในภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกโบราณ มีเสียงไม่ก้องและเป็นเสียงในลำคอสามเสียงคือ เกิดที่เพดานอ่อน ḫ เกิดที่สายเสียงและคอหอย ḥ ดังที่พบในอักษรอาระเบียใต้และอักษรเอธิโอปิก ในอักษรคานาอันไนต์, ḫayt และ ḥasir รวมเข้ากับ Heth "fence"