ศอด
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศอด | ||||||||||||
ص | ||||||||||||
อักษรต่างรูป | ||||||||||||
|
||||||||||||
อักษรอาหรับ | ||||||||||||
ﺍ | ﺏ | ﺕ | ﺙ | ﺝ | ﺡ | ﺥ | ||||||
ﺩ | ﺫ | ﺭ | ﺯ | ﺱ | ﺵ | ﺹ | ||||||
ﺽ | ﻁ | ﻅ | ﻉ | ﻍ | ﻑ | ﻕ | ||||||
ﻙ | ﻝ | ﻡ | ﻥ | ه | ﻭ | ﻱ | ||||||
ประวัติอักษรอาหรับ· เครื่องหมายการออกเสียง · ฟัตฮะหฺ · กัสเราะหฺ · ء ·ฎ็อมมะหฺ · เลขอาหรับ |
ศอด (Ṣādē) เป็นอักษรตัวที่ 18 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่อักษรฟินิเชียน อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูצ และอักษรอาหรับ ﺹ เสียงเริ่มแรกของอักษรนี้น่าจะเป็น [sˁ] แต่ต่อมาเสียงนี้ต่างออกไปในภาษาตระกูลเซมิติกสมัยใหม่ มีที่มาจากอักษรคานาอันไนต์สามตัว ภาษาอาหรับยังคงแยกหน่วยเสียง เหล่านั้นเป็นอักษรสามตัวคือ ṣād and ṭāʼ ใช้แสดงเสียงต่างกันสามเสียง (see ḍād, ẓāʼ). ในภาษาอราเมอิก เสียงใกล้เคียงของอักษรนี้ถูกแทนที่ด้วย ʻayin และ ṭēt, ดังนั้น ในภาษาฮีบรู ereẓ ארץ (โลก) เป็น arʻāʼ ארעא ในภาษาอราเมอิก.
อักษรฟินิเชียนตัวนี้ไปเป็น อักษรกรีก Ϡ และ อักษรอีทรัสคัน ̑ Ś. อาจจะไปเป็นอักษร Tse ในอักษรกลาโกลิติก ผู้พูดภาษาฮีบรูจะเรียกอักษรนี้ว่า Tsadik