แมกนีเซียม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | แมกนีเซียม, Mg, 12 | ||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | โลหะอัลคาไลเอิร์ธ | ||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | 2, 3, s | ||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | ขาวเงิน |
||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 24.3050(6) กรัม/โมล | ||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Ne] 3s2 | ||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 2 | ||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 1.738 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. | 1.584 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 923 K (650 °C) |
||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 1363 K(1090 °C) | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 8.48 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 128 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) 24.869 J/(mol·K) | ||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | |||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | hexagonal | ||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | 2 (ออกไซด์เป็นเบสแก่) |
||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 1.31 (Pauling scale) | ||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 737.7 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1450.7 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 7732.7 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 150 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 145 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 130 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 173 pm | ||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | |||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | paramagnetic | ||||||||||||||||||||||||
ความต้านทานไฟฟ้า | (20 °C) 43.9 nΩ·m | ||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) 156 W/(m·K) | ||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | (25 °C) 24.8 µm/(m·K) | ||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง (thin rod) | (r.t.) (annealed) 4940 m/s |
||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของยังก์ | 45 GPa | ||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 17 GPa | ||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | 45 GPa | ||||||||||||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซอง | 0.29 | ||||||||||||||||||||||||
ความแข็งโมห์ส | 2.5 | ||||||||||||||||||||||||
ความแข็งบริเนล | 260 MPa | ||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7439-95-4 | ||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | |||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
แมกนีเซียม (อังกฤษ:Magnesium)เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Mg และเลขอะตอม 12 แมกนีเซียมเป็นธาตุที่มีอยู่มากเป็นอันดับ 8 และเป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกประมาณ 2% และเป็นธาตุที่ละลายในน้ำทะเลมากเป็นอันดับ 3 โลหะอัลคาไลเอิร์ธตัวนี้ส่วนมากใช้เป็นตัวผสมโลหะเพื่อทำโลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม
[แก้] สมบัติทางเคมี
สามารถทำปฏิกิริยาอย่างช้าๆ กับน้ำเย็น และจะรวดเร็วมากขึ้นถ้าใช้น้ำร้อน ได้ก๊าซไฮโดรเจน และทำปฏิกิริยากับกรดได้อย่างรวดเร็วเกิดก๊าซไฮโดรเจน
แมกนีเซียม เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ แมกนีเซียม ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี |