ภาษาบูร์ยัต
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาบูร์ยัต буряад хэлэн |
||
---|---|---|
พูดใน: | สาธารณรัฐบูร์ยัต, ทางเหนือของ มองโกเลีย, ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน, Ust-Orda Buryat Autonomous Okrug, Agin-Buryat Autonomous Okrug | |
จำนวนผู้พูด: | 400,000 คน | |
ตระกูลภาษา: | ภาษากลุ่มอัลตาอิก[1] ภาษากลุ่มมองโกลิก ภาษากลุ่มมองโกลิกเหนือ ภาษาบูร์ยัต |
|
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | ไม่มี | |
ISO 639-2: | bua | |
ISO 639-3: | มีหลากหลาย: bua — ภาษาบูร์ยัต (ทั่วไป) bxu — ภาษาบูร์ยัตในจีน bxm — ภาษาบูร์ยัตในมองโกเลีย bxr — ภาษาบูร์ยัตในรัสเซีย |
|
หมายเหตุ: บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ | ||
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา |
ภาษาบูร์ยัต (Буряад) เป็นกลุ่มมองโกลิก มีผู้พูดราว 400,000 คน ในสาธารณรัฐบูร์ตาเตียในรัสเซียรวมทั้งในภาคเหนือของมองโกเลียและภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกที่กำหนดขึ้นหลังจากการปฏิวัติรัสเซียเมื่อ พ.ศ. 2460 ก่อนหน้านั้นภาษาบูร์ยัตเขียนด้วยอักษรมองโกเลีย ใน พ.ศ. 2474 มีการปรับอักษรละตินมาใช้เขียนภาษาบูร์ยัตและนำอักษรซีริลลิกมาใช้อีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2482
[แก้] ระบบการเขียน
А а | Б б | В в | Г г | Д д | Е е | Ё ё | Ж ж |
З з | И и | Й й | К к | Л л | М м | Н н | О о |
Ө ө | П п | Р р | С с | Т т | У у | Ү ү | Ф ф |
Х х | Һ h | Ц ц | Ч ч | Ш ш | Щ щ | Ъ ъ | Ы ы |
Ь ь | Э э | Ю ю | Я я |