ปะหล่อง
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปะหล่อง (ภาษาจีน:德昂族; พินอิน : Déáng Zú) เป็นชนกลุ่มน้อยพวกหนึ่ง นับเป็นหนึ่งใน 56 กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีชาวปะหล่องอาศัยอยู่ในประเทศพม่า และมีบางส่วนที่อพยพเข้ามาประเทศไทยบริเวณชายแดน ใกล้ดอยอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ชาวปะหล่องพูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร เรียกว่า ภาษาปะหล่อง
[แก้] ประวัติศาสตร์
ในปี ค.ศ. 1949 ชาวปะหล่องในประเทศจีน มีชื่อเรียกว่า Benglong ครั้นปี ค.ศ. 1985 มีชื่อเรียกใหม่ว่า เต๋อะ อ๋าง ตามคำเรียกร้องของสมาชิกในกลุ่มชาติพันธุ์นี้
[แก้] วัฒนธรรม
บ้านเรือนส่วนใหญ่ของชาวปะหล่องทำจากไม้ไผ่ แต่โครงเป็นไม้จริง ประตูหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แต่ละครอบครัวมีบ้านของตนเอง มักเป็นบ้านสองชั้น (แต่บ้านชั้นเดียวก็มี) ชั้นล่างเป็นที่เก็บข้าวเปลือกและเลี้ยงสัตว์ ส่วนชั้นบนเป็นที่อยู่อาศัย
ผู้หญิงชาวปะหล่องแต่งกายแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น ปกติจะมีเสื้อกั๊กสีดำ หรือขาวทับด้านนอก ตกแต่งด้วยแถบกำมะหยี่หลากสี และนิยมนุ่งผ้าถุง
ชายชาวปะหล่องสวมเสื้อกั๊กสีขาวหรือกรมท่า กางเกงขายาว ขาบานๆ นอกจากนี้ยังโพกศีรษะด้วยผ้าขาวหรือดำ ในบางท้องถิ่น ชาวปะหล่องยังนิยมสักบนร่างกายเป็นรูปเสือ นก หรือดอกไม้
[แก้] ศาสนา
ชาวปะหล่องส่วนใหญ่ยึดมั่นในพุทธศาสนา และมีการสร้างวัดในเมืองส่วนใหญ่ของพวกเขา นอกจากทำบุญตามประเพณีของชาวพุทธแล้ว ชาวปะหล่องยังนิยมส่งลูกหลานที่มีอายุประมาณ 10 ขวบไปบวชสามเณร และสึกออกมาเพื่อถึงวัยผู้ใหญ่
|
|
---|---|
ออสโตรเอเชียติก | กูย (ส่วย) • ขมุ • ข่าพร้าว • เขมร • ญัฮกุร (ชาวบน) • ชอง • ซาไก (เซนอย ชาวป่า) • เซมัง (เงาะ เงาะป่า) • ลัวะ (ถิ่น) • ปะหล่อง • มอญ • มลาบรี (ผีตองเหลือง) • ละว้า • โส้ • เญอ • บรู • ซำ • เร • โซ่ทะวืง • เวียดนาม (ญวน) |
ไท-กะได | ไทใหญ่ (ฉาน เงี้ยว) • ไทลื้อ • ไทขึน (ไทเขิน) • ไทยอง • ไทยวน • ไทดำ (ลาวโซ่ง) • ไทยสยาม • ผู้ไท (ญ้อ, โย้ย) • พวน • ลาว • ลาวแง้ว • แสก • ลาวครั่ง • ไทกลา • ไทหย่า • ลาวตี้ • ลาวเวียง • ลาวหล่ม • คำตี่ |
จีน-ทิเบต | ไทยเชื้อสายจีน (จีนโพ้นทะเล) • จีนฮ่อ • กะเหรี่ยง • ลีซอ • มูเซอ (ล่าหู่) • อาข่า (อีก้อ) • คะฉิ่น • ก๋อง • พม่า • อึมปี (เมปึ ก้อ ปะกอ) |
ออสโตรนีเซียน | มอเก็น (ชาวเล) • มอเกล็น • อูรักลาโว้ย • ไทยเชื้อสายจาม (จาม) • ไทยเชื้อสายมลายู (มลายู (มาเลย์)) • ออรังลาโวด |
ม้ง-เมี่ยน | ม้ง (แม้ว) • เมี่ยน (เย้า) |
|
|
---|---|
ชมกลุ่มหลัก | พม่า • ไทใหญ่ • มอญ • ยะไข่ • กะเหรี่ยง • คะฉิ่น • ไทย (ไทยโยเดีย, ไทยตะนาวศรี) • ชิน • คะย้า |
ชนกลุ่มน้อย | Anu • Anun • Asho • Atsi • Awa Khami • Beik • Bre (Ka-Yaw) • Bwe • Dai (Yindu) • Daingnet • Dalaung • Danaw (Danau) • Danu • ทวาย • Dim • Duleng • Eik-swair • Eng • Ganan • Gheko • Guari • Gunte (Lyente) • Gwete • Haulngo • Hkahku • ขึน • Hpon • Intha • Kadu (Kado) • Ka-Lin-Kaw (Lushay) • Kamein • Kaung Saing Chin • Kaungso • อาข่า • Kayinpyu (Geba Karen) • ปะด่อง หรือ คะยัน • Kebar • Khami • คำตี่ • ขมุ • Khawno • Kokang • Kwangli (Sim) • Kwelshin • Kwe Myi • Kwi • มูเซอ (ลาหู่) • Lai (Haka Chin) • Laizao • ลาติ • Lawhtu • Laymyo • Lhinbu • ลีซอ • Lushei (Lushay) • Lyente • Magun • Maingtha • Malin • Manu Manaw • Man Zi • Maramagyi • Maru (Lawgore) • Matu • Maw Shan • Meithei (Kathe) • Mgan • Mi-er • Miram (Mara) • มอเก็น • Monnepwa • Monpwa • Mon Kayin (Sarpyu) • Mro • นาคา • Ngorn • Oo-Pu • Paku • ปะหล่อง • Pale • Pa-Le-Chi • Panun • Pa-O • Pyin • คะฉิ่นราวาง • Rongtu • Saing Zan • Saline • Sentang • Sgaw • Shan Gale • Shan Gyi • Shu (Pwo) • Son • Tai-Loi • Tai-Lem • Tai-Lon • Tai-Lay • Taishon • Ta-Lay-Pwa • Tanghkul • Tapong • Taron • Taungyo • Tay-Zan • Thado • Thet • Tiddim (Hai-Dim) • Torr (Tawr) • ว้า • Wakim (Mro) • Yabein • เย้า • Yaw • Yin Baw • Yin Kya • Yin Net • Yin Talai • ยุน (ลาว) • Za-How • Zahnyet (Zanniet) • Zayein • Zizan • โส้ • Zo-Pe • Zotung |
ปะหล่อง เป็นบทความเกี่ยวกับ มนุษย์ มานุษยวิทยา และเรื่องที่เกี่ยวข้อง ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ปะหล่อง ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |